คูม มืือ
ก การซัซักประวั ป วัติ ตรวจ ต จรางงกาย ย แลละกาารสือสารท ่อ ทางก การแพ พทยย เพื พื่อการสสอบวิชาชี ช พเวชกรรรม
บรรรณาธิการ า นายยแพทยฉั ฉต ั รชัย กรี ก พละ คณ ณะแพทยศาสสตร มศว
i
คํานํา คูมือนี้จัดทํา ขึ้นเพื่ อเปนการทบทวน เตรียมความพรอม ในการสอบภาคปฏิบัติเพื่อสอบอนุมัติ วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม (Thai National Licensing examination) ขั้นตอนที่ 3 ประจําปการศึกษา 25532554 นิสิตควรทําการศึกษาเพิ่มเติมตามขอกําหนดของศูนยการประเมินและรับรองความรูความสามารถในการ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ศ.ร.ว.) ตามขอกําหนดของแพทยสภา ป 2546 อยางไรก็ตามไมสามารถสรุปการ ซักประวัติและตรวจรางกายไดทั้งหมด ดั้งนั้น นิสิตควรใหความสําคัญกับการนัดสอนเสริมตามตารางเรียน ที่ งานแพทยศาสตรศึกษากําหนด ในส ว นการซัก ประวัติแ ละหัต ถการของงานสู ติศ าสตร-นรีเ วชวิท ยาและกุม ารเวชศาสตร ใหนิสิ ต ทบทวนจากคูมือหัตถการ ซึ่งจัดทําโดยภาควิชาทั้งสอง เมื่อเรียนในชั้นป 4 และ 5 นอกจากนี้นิสิตสามารถ ฝกปฏิบัติหัตถการนอกเวลาในหองปฏิบัติการ clinical skill บริเวณชั้น 15 ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพฯ โดยสามรถติดตอขอรับกุญแจนอกเวลาไดที่ อาจารยฉัตรชัย กรีพละ ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก บุญบารมีของหมอมหลวงปน มาลากุล ดลบันดาลใหนิสิต แพทย มศว ประสบความสําเร็จในการสอบและการประกอบวิชาชีพเวชกรรมในอนาคตตอไป
นพ.ฉัตรชัย กรีพละ แพทยศาสตรศึกษา 1 กันยายน 2553
ii
สารบัญ เรื่อง
หนา
บทนํา
1
หมวดการซักประวัติ (History taking) o History 1: ไข o History 2: ผื่นผิวหนัง o History 3: อาการไอ o History 4: อาการไอเปนเลือด o History 5: อาการคลื่นไส อาเจียน o History 6: อาการปวดทอง (abdominal pain) และ จุกแนน แสบทอง (Dyspepsia) o History 7: อาการตัวตาเหลือง o History 8: อาการถายดําหรืออาเจียนเปนเลือด o History 9: อาการถายเปนเลือดสด o History 10: อุจจาระรวงเฉียบพลัน o History 11: อุจจาระรวงเรื้อรัง o History 12: ปสสาวะเปนเลือด (Hematuria) o History 13: ปสสาวะแสบขัด (Dysuria) o History 14: อาการบวม (Edema) o History 15: อาการปวดศรีษะ (Headache) o History 16: อาการซีด (anemia) o History 17: อาการเลือดออกผิดปกติ (bleeding disorder) o History 18: อาการเจ็บหนาอก o History 19: อาการหอบเหนื่อย o History 20: อาการไข ปวดขอ ในเด็ก o History 21: เด็กอวน o History 22: เด็กเลี้ยงไมโต (failure to thrive: FTT) , น้ําหนักตัวนอย o History 23: ภาวะเลือดออกผิดปกติทางชองคลอด o History 24: ภาวะตกขาวผิดปกติทางชองคลอด ( Abnormal leukorrhea ) o History 25: ภาวะขาดประจําเดือน ( secondary amenorrhea ) o History 26: อาการปวดทองนอยเฉียบพลัน ในสตรี
8
iii
iv
หมวดการตรวจรางกาย (Physical examination) • PE 1: อาการปวดทอง แนนทอง ทองอืด • PE 2: ปวดทองเฉียบพลัน • PE 3: การมองเห็นไมชัด ตาบอด • PE 4: เลือดออกผิดปกติ เลือดออกตามไรฟน • PE 5: กลามเนื้อออนแรง • PE 6: ชา กลามเนื้อกระตุก • PE 7: หูไมไดยิน • PE 8: เตานม • PE 9: อาการบวม • PE 10: มือสั่น • PE 11: ความผิดปกติในนรีเวชวิทยา
44
หมวดทักษะการสื่อสาร (Communication skills) บทนํา การใหคําปรึกษาและการบอกขาวราย การสื่อสารดวยวาจา • Communication I: การใหคําแนะนํา-สาธิต • Communication II: การแจงขาวราย • Communication III: การใหคําแนะนําเพื่อการตัดสินใจทําหัตถการ การสื่อสารดวยเอกสารทางการแพทย • รายงานทางการแพทยสําหรับผูปวยคดี
67
บทนํา
บทนํา ลักษณะขอสอบที่ใชในการสอบ ศ.ร.ว. ขั้นตอนที่ 3 ตามที่แพทยสภา ไดกําหนดไววาผูที่เขาศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตรของทุกสถาบัน ตั้งแตป การศึกษา 2546 จะตองผานการสอบเพื่อรับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภาจึงไดมอบหมายใหศูนย ประเมิน และรับรองความรูความสามารถ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ศ.ร.ว.) เปนผูดําเนินการโดยไดตั้ง เกณฑผูที่จะไดรับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมจะตองผานการสอบทั้ง3 ขั้นตอน ดังนี้ คือ ขั้นตอนที่ 1 (Basic science - MCQ) สอบเมื่อผานการเรียนชั้นปที่ 3 ขั้นตอนที่ 2 (Clinical science - MCQ) สอบเมื่อผานการเรียนชั้นปที่ 5 ขั้นตอนที่ 3 (Clinical competency skill – MEQ ,Long cases และ OSCE) ซึ่งจะสามารถเขารับการ ประเมินผลไดเมื่อผานขั้นตอนที่ 1 และ 2 แลว ในการสอบขั้นตอนที่ 3 (OSCE) ศูนยประเมินและรับรองความรูความสามารถในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม (ศ.ร.ว.) ไดกําหนดลักษณะขอสอบที่จะใชในการสอบขั้นตอนที่ 3 ทั้งหมด 20 ขอ แบงเปน - ขอสอบเกี่ยวกับหมวดการซักประวัติ 4 ขอ - ขอสอบเกี่ยวกับหมวดการตรวจรางกาย 4 ขอ - ขอสอบเกี่ยวกับหมวดการทําหัตถการ 4 ขอ - ขอสอบเกี่ยวกับหมวดทักษะการสื่อสาร 3 ขอ - ขอสอบเกี่ยวกับหมวดการอานและแปลผลขอมูลตางๆ 5 ขอ ขอสอบทั้งหมดในแตละหมวดจะอางอิงตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา
1
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ขอสอบในหมวดการซักประวัติและการตรวจรางกายตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา ขอ 2.1 นักศึกษาตองสามารถซักประวัติ และตรวจรางกายไดอยางเหมาะสม เมื่อพบผูปวยที่มีอาการ สําคัญ ดังตอไปนี้ 1. ไข 2. ออนเพลีย ไมมแี รง 3. ภาวะผิดรูป 4. อวน น้ําหนักตัวลดลง 5. อุบัติเหตุ สัตวมีพิษกัดตอย 6. ปวดฟน เลือดออกตามไรฟน 7. ปวดทอง แนนทอง ทองอืด 8. ตาเหลือง ตัวเหลือง 9. เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน อาเจียนเปนเลือด 10. สะอึก สําลัก กลืนลําบาก 11. ทองเดิน ทองผูก อุจจาระเปนเลือด อุจจาระ 12. กอนในทอง 13. ปวดศีรษะ มึนศีรษะ เวียนศีรษะ หนามืด เปนลม 14. กลามเนื้อออนแรง ชัก สั่น กระตุก ชา ซึม ไมรูสติ 15. ปวดหลัง ปวดคอ ปวดเมื่อย ปวดกระดูก ปวดขอ ปวดแขน ปวดขา 16. เจ็บคอ คัดจมูก น้ํามูกไหล จาม เลือดกําเดาออก 17. ไอ ไอเปนเลือด หอบเหนื่อย หายใจขัด หายใจไมอิ่ม เจ็บหนาอก ใจสั่น เขียวคล้ํา 18. บวม ปสสาวะลําบาก มีปสสาวะขัด ปสสาวะบอย ปสสาวะสีผิดปกติ กลั้นปสสาวะไมได 19. ปสสาวะมีเลือดปน ปสสาวะเปนกรวดทราย 20. หนองจากทอปสสาวะ 21. แผลบริเวณอวัยวะเพศ 22. ผื่น คัน แผล ฝ สิว ผิวหนังเปลี่ยนสี ผมรวง 23. กอนที่คอ กอนในผิวหนัง กอนที่เตานม 24. ซีด ตอมน้ําเหลืองโต 25. ตั้งครรภ แทงบุตร ครรภผิดปกติ ไมอยากมีบุตร มีบุตรยาก 26. ตกขาว คันชองคลอด 27. เลือดออกทางชองคลอด 28. ประจําเดือนผิดปกติ ปวดประจําเดือน 29. คลอดกอนกําหนด เกินกําหนด 30. เคืองตา ตาแดง ปวดตา มองเห็นไมชัด ตาบอด ตาโปน ตาเหล 31. หูอื้อ การไดยินลดลง 32. หงุดหงิด คลุมคลั่ง ประสาทหลอน นอนไมหลับ เครียด วิตกกังวล ซึมเศรา ติดสารเสพติด ฆาตัวตาย 33. ถูกลวงละเมิดทางเพศ 34. การเจริญเติบโตไมสมวัย
2
บทนํา
ขอสอบในหมวดการทําหัตถการตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา ขอ 3.5.1 นักศึกษาตองสามารถทําไดดวยตนเอง ในหัตถการพื้นฐานทางคลินิกตอไปนี้ 1. Venepuncture 2. Capillary puncture 3. Intravenous fluid infusion 4. Injection : IM, IV, ID, SC 5. Blood and blood component transfusion 6. Arterial puncture 7. Lumbar puncture 8. Endotracheal intubation 9. Local infiltration and digital nerve block 10. Advanced CPR 11. Oxygen therapy 12. Aerosal bronchodilator therapy 13. Anterior nasal packing 14. N-G intubation, gastric lavage, gavage and irrigation 15. Urethral catheterization 16. Incision and drainage 17. Debridement of wound 18. Wound dressing 19. Excision of benign tumor and cyst of skin and subcutaneous tissue 20. Suturing and desaturing 21. Stomal care 22. Stump bandaging 23. First aid management of injured patient 24. Measurement of central venous pressure 25. Normal labor 26. Amniotomy 27. Episiotomy and perineorrhaphy 28. Pap smear preparation 29. Removal of foreign body from vaginal in adult 30. Phototherapy
3
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ขอสอบในหมวดทักษะการสื่อสารตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา ขอ 1.4 - 1.7 นักศึกษาตองมีความสามารถในการสื่อสารดังตอไปนี้ ทางการบันทึก 1. เขียนใบรับรองแพทย/หนังสือรับรองความพิการ 2. บันทึกขอมูลผูปวยคดี 3. การออกความเห็นทางนิติเวช 4. ใบสงผูปวย 5. ใบตอบรับผูปวย 6. รายงานการผาตัด 7. บันทึกรอยโรคตางๆ 8. บันทึกลักษณะบาดแผล 9. ขอมูลการซักประวัติและตรวจรางกาย ทางวาจา 1. การแจงโรคและการรักษา 2. การใหเลือกการรักษา 3. การแจงขาวราย 4. การแจงขาวตายและการเตรียมญาติ 5. การสาธิต การแนะนําการปฏิบัติตัว 6. Counseling 7. การใหกําลังใจ 8. การขอ autopsy 9. การพูดแนะนําชุมชน 10. การขอคํายินยอมการรักษา/ผาตัด
4
บทนํา
ขอสสอบในหมวดกการอานและแแปลผลขอมูลตตางๆ ตามเกกณฑมาตรฐาน นแพทยสภา ขขอ 3.2 - 3.4 นักศึกษาตองสามาารถอานและแปปลผลการตรวจ /รายงานการตรวจไดถูกตอง ดังตอไปนี้
การฝกฝนการตรวจร ก รางกายและหัต ถการบางอยาง โดยดู VDO on demand ผผานทาง wwww.med.cmu.acc.th หัวขอ “สารรสนเทศทางกาารศึกษา” หรือ “หัตถการทางงคลินิก” และ “กการตรวจรางกกาย เบื้องงตน” หรือผานทาง www.med.swu.ac.th ส วน MODDLEE E-learning ในนหัวขอ ความรูรู พื้นฐานทางคลินิก และกการเตรียมสอบบวิชาชีพเวชกรรรม
5
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
เกณฑผานการประเมินผล 1.การผานในภาพรวม (over all) ตองมีจํานวนขอผานมากกวา 12 ขอ จากจํานวนขอสอบทั้งหมด 20 ขอ 2.ตองผานในเกณฑขั้นต่ํา ( minimal passing score) ในแตละหมวด ตามตารางโดยเกณฑการผานในแตละขอ อาจอางอิงคะแนนกลุมนิสิต/นักศึกษาที่สอบ ในรอบนั้นหรือใชเกณฑ minimal passing score ที่คณะกรรมการ ศรว. กําหนดโดยเฉพาะ ตามความเหมาะสม หมวด ซักประวัติ ตรวจรางกาย หัตถการ สื่อสาร LAB
จํานวนขอสอบ 4 4 4 3 5
จํานวนขอที่ตองสอบผาน 2 2 2 1 1
จะเห็นไดวาการผานเกณฑในลักษณะนี้เกิดขึ้นไดไมยากนัก เนื่องจากนิสิตและนักศึกษาแพทยทั่วไป มักทําคะแนนไดใกลเครียงกัน กลาวคือ ขอยากก็มักทําไดนอยเกือบทุกคนอยูแลว ถานิสิตไมไดทําคะแนนนอย มากชนิดหลุดโลก ก็มักผาน ที่สําคัญคือไมควรตกซ้ําในหมวดเดียวกันเพราะจะทําใหโอกาสผานนอยลง
6
บทนํา
วิธีการสอบ ใหนิสิตไปถึงสถานีสอบกอนอยางนอย 1 ชั่วโมครึ่ง เพื่อรายงานตัวและเก็บตัวกอนการสอบ โดยนิสิต ที่สอบรอบเชา ( 9.00น.-12.00น.) ควรไปถึงสถานีสอบประมาณ 7.30 น. และนิสิตที่สอบในรอบบาย (13.0016.00 น) ตองมารายตัวกอนที่นิสิตรอบเชาสอบเสร็จ โดย ศรว.กําหนดใหตองรายงานตัวกอน 11.00 น หลังจากนี้อาจไมไดรับอนุญาต ใหเขาสอบ ปญหาที่พบ คือนิสิตที่ไมไดไปสอบกับรถคณะ อาจเดินทางมา ชา หรือหาหองสอบไมเจอ ขอแนะนําควรไปสถานีสอบเนิ่นๆ ศึกษาเสนทางลวงหนา ถามีปญหาควร ติดตอผูประสานงานของคณะ ใหเตรียมบัตรประจําตัวประชาชน เอกสารที่ ศรว สงใหเพื่อแจงการสอบ ปากกา แตยางลบไมจําเปน เนื่องจากในการสอบหากตองการเปลี่ยนแปลงคําตอบ ใหขีดฆา และเขียนคําตอบใหมลงพรอมลงชื่อกํากับ จะ เหมาะสมกวา ที่สําคัญคือตองเขียนคําตอบใหอานออกดวย ขอสอบมีจํานวน 20 ฐาน และอาจมีขอพัก ประมาณ 10-13 ฐาน แตละฐานมีเวลา 5 นาที จะมีกริ่งสัญญาณสั้นเตือนที่ 4 นาที และ กริ่งสัญญาณยาวเมื่อ หมดเวลา อยางไรก็ตาม ศรว อาจ มีการเปลี่ยนแปลงการปลอยอานัตสัญญาณ ตามความเหมาะสมในแตและป ซึ่งจะมีการซักซอม กอนทําการสอบกอนทุกครั้ง เมื่อรายงานตัวและเขาสูหองสอบ ไมอนุญาตใหใชอุปกรณสื่อสารทุกชนิดเชนเดียวกับ part 1 และ 2 แตสามารถนํา stetoscope เขาไปได กรรมการคุมสอบ จะแจก sticker แสดงชื่อนิสิตแตละคน เมื่อเขาสอบใน แตละขอ ใหนิสิตยื่นsticker แสดงชื่อนิสิต กับอาจารยคุมสอบ 1 ใบ (ในบางครั้งอาจารยคุมสอบอาจขอมากกวา หนึ่งใบ เนื่องจากใบประเมินผลของอาจารยคุมสอบมีมากกวาหนึ่งหนาก็ได) ใหนิสิตขอ sticker ที่เหลือคืนทุก ครั้งหลังการสอบในแตละขอ เพื่อนําไปแสดงตัวกับอาจารยคุมสอบขอถัดไป ในขอที่เปน LAB สามารถติดชื่อที่ หัวกระดาษคําตอบไดเลย สอบเสร็จแลวอยาเพิ่งวุนวาย ครองสติ แลวมา disscuss ในรถ หรือ ที่คณะ จะดูสํารวมกวาครับ ขอใหตั้งใจเตรียมสอบ เพราะเมื่อสอบไมวาผานหรือไม เราก็ไดทําดีที่สุดแลว การสอบขั้นตอนที่ 3 นี้ นับตั้งแตปการศึกษา 2552 เปนตนมา ศรว.ไดทําการแบงสอบเปน 3 ครั้ง นิสิตเลือกสอบในวันเวลาที่นิสิตพรอมที่สุด หากสอบตกในครั้งแรก จะสามารถสอบซอมแกตัวไดอีกหนึ่งครั้ง (เทากับวามีสิทธิ์สอบและสอบแกตัวรวมกันไดสองในสามครั้ง) คาสมัครสอบ 5000 บาท ในแตละครั้ง หากสอบ ไมผานภายหลังการเขาสอบสองในสามครั้ง นิสิตสามารถสอบแกตัวอีกหนึ่งครั้ง ในรอบเดือนมีนาคม ซึ่งศรว. มักจะเปดใหกลุมนิสิตที่เพิ่งผานการสอบ ศรว.1และ 2 และมีคุณสมบัติในการสอบศรว.ขั้นตอนที่ 3 เขาสอบ พรอมกัน เปนกรณีพิเศษไดอีก
7
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History taking skill ในการวัดผลทักษะการซักประวัติ คะแนนที่นิสิตจะไดรับจะเกิดจากสองสวนคือ สวนที่หนึ่ง คณะกรรมการจะสังเกตทักษะการซักประวัติในภาพรวม โดยดูจากปฏิสัมพันธ ภาษาและทาที ที่ผูเขาสอบ ปฏิบัติตอผูปวยจําลอง ( Communication process and Interview structure) และสวนที่สองจะไดมาจากขอมูล ในการซักประวัติผูปวยและการวินิจฉัยโรค ( Knowledge content) ดังปรากฏในตัวอยางใบใหคะแนนตอไปนี้ นิสิตพึงใหความสําคัญกับคะแนนในสวนที่หนึ่งดวย เนื่องจากคะแนนในสวนนี้จะมีสูงถึง 15-20% ของคะแนน การวัดผลในหมวดการซักประวัติทั้งหมด การซักประวัติ สถานีสอบที่ แบบประเมินการปฏิบัติ
ชื่อ...................................เลขที่สอบ............
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 ทักษะการซักประวัติ 0 1. แนะนําตนเองแกผูปวย 0 2. แจงวัตถุประสงค 0 3. เริ่มตนซักขอมูลดวยคําถามปลายเปด 0 4.ทวนความ/สรุปความเปนระยะๆ เพื่อสํารวจความถูกตองของขอมูล 0 5. มีวิธีการแจงผูปวย เมื่อเปลี่ยนหัวขอการซักถาม 0 6.ขออนุญาต/ขออภัยผูปวย เมื่อซักถามขอมูลที่เปนเรื่องสวนตัว (กรณีซักประวัติในเรื่องที่อาจเกี่ยวของ) 0 7.ไมพูดวกวน 0 8.ไมใชศัพทแพทย/ภาษาอังกฤษ 0 9.แสดงภาษากายเหมาะสม(ทาทีสนใจ/สบตา/หยักหนา/ตอบรับ) 0 10.ใหโอกาสผูปวยเลาสิ่งที่ไมไดซักถาม 0 11.เรียกชื่อผูปวยบางระหวางการซักถาม สวนที่ 2 ขอมูลในการซักประวัติผูปวย 1. 2. รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร รวม 100 คะแนน เกณฑผาน .. คะแนน ลายเซ็นผูประเมิน ............................................
8
History taking skill
History 1: ไข Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการไข ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยไข ใหนิสิตพยายามแยกแยะกลุม ผูปวยดังตอไปนี้ 1. อาการไขเปน systemic infection เชน มาลาเรีย ไขเลือดออก การติดเชื้อไขหวัดใหญ เปนตน 2. อาการไขเปนโรคที่มี specific organ involvement เชน UTI ,liver abscess ,pneumonia เปนตน 3. ผูปวยเปน immunocompromised host หรือ immunocompetent host ในกรณีที่การซักประวัติเบื้องตนมีแนวโนมวาเปน systemic infection นิสิตตองเอา duraion of fever มา ประกอบเพื่อชวยในการวินิจฉัย ดังนี้ a. acute fever; หมายถึงไข 1-7 วัน ใหวินิจฉัย กลุมไข ที่มีสาเหตุจาก viral infection เปนสําคัญ ไดแก acute viral syndrome ,influenza ,DHF b. sub acute fever; หมายถึงไข ที่มีระยะ 7-14 วัน ใหวินิจฉัย กลุมไข ที่มีสาเหตุจากเชื้อ ไดแก enteric fever ,scrub typhus ,leptospirosis c. prolong fever; หมายถึงไข มากกวา 21 วัน (ใชคําจํากัดความของ fever of unknown origin; FUO) ใหวินิจฉัย กลุมไข ที่มีสาเหตุจาก connective tissue disease ,malignancy , และกลุม infection กลุม TB และ systemic fungal infection ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.
มีไขมานานเทาไหร มีไขหนาวสั่นหรือไม ลักษณะเปนไขแบบใด เปนตลอดเวลา เปนๆหายๆ เปนตน มีน้ํามูกไหล ไอ เจ็บคอ มีเสมหะ หอบหรือไม มีกอนสีหนอง ตอมน้ําเหลืองขึ้นตามตัวที่ใดหรือไม มีปสสาวะแสบขัด ปวดหลังหรือไม มีปวดทอง แนนทอง หรือทองเดินหรือไม มีตัวเหลือง ตาเหลืองรวมดวยหรือไม มีผื่นขึ้นตามตัวหรือไม ผื่นหรือแผลที่ขาหนีบหรือในผามีหรือไม ประวัติไปตางจังหวัด ประวัติเขาปา ประวัติลุยน้ํา ประวัติอาชีพทํานา ประวัติการมีเพศสัมพันธที่มคี วามเสี่ยงตอการติดโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ติดยาเสพติดเขาเสนหรือไม มีผูใกลชิดไดรับ เลือดหรือสวนประกอบของเลือดหรือไม มีคนในบานหรือคนใกลชิด มีอาการอยางผูปวยหรือไม อาการรวมอื่นๆ เชน ปวดขอ ผื่นแพแสง น้ําหนักลด (ควรถามดวยคําถามปลายเปดเพื่อใหผูปวย เลาอาการรวมอื่นๆออกมาเองมากที่สุด)
III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัวและยาที่ใชประจําทั้งหมดเชนเปนโรคเบาหวาน เปนพิษสุราเรื้อรัง ไดรับยา steroid เปนโรค AIDS หรือไม
9
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 2: ผื่นผิวหนัง Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการผื่นผิวหนัง ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยผื่นผิวหนังใหนิสิตพยายาม แยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. อาการผื่นผิวหนังที่ปรากฏเปนอาการเดี่ยวหรือมีอาการรวมอื่นๆ เชน ไข ปวดขอ ผมรวงหรือไม 2. ใหซักประวัติและขอดูลักษณะผื่นไปพรอมกัน ขอใหสังเกตุตําแหนงที่เกิดขึ้นเฉพาะเชน ผื่นนั้นเกิดขึ้นที่ฝา มือ ,ฝาเทา ,ผื่นที่สัมพันธกันไข ,ผื่นและลมพิษที่สัมพันธกับการแพยาและอาหาร ผื่นที่เกิดรวมกับไข อาการคอ แข็งหรือความผิดปกติทางระบบประสาทเปนตน ทั้งนี้ขอมูลดังกลาว ลวนมีประโยชนในการชวยวินิจฉัย ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ผื่นเริ่มเมื่อไหร 2. คันหรือไม 3. ผื่นเริ่มที่ไหน 4. ลักษณะการกระจาย 5. การเปลี่ยนแปลงของผื่น 6. ปจจัยที่มาสงเสริมการเกิดผื่น 7. การรักษาที่ไดรับมากอน 8. การซักประวัติตามระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่สงสัยระบบนั้น ๆ เชน มีไข ปวดขอ ผืน่ แพแสง ประวัติการไดรบั ยา และอาการแพยาแพอาหาร 9. ประวัติอดีตและประวัติครอบครัว III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัวและยาที่ใชประจําทั้งหมด และประวัติการแพยา แพอาหาร
10
History taking skill
History 3: อาการไอ Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการไอ ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. เปนมานานเทาใด 2. เปนบอยแคไหน 3. มีภาวะอะไรที่กระตุนการไอหรือทําใหการไอนอยลง 4. มีเสมหะหรือไม เสมหะสีอะไร กลิ่นเหม็นหรือไม ลักษณะเปนอยาไร จํานวนมากแคไหน 5. มีไอเปนเลือกรวมดวยหรือไม 6. มีน้ํามูกไหล เจ็บคอรวมดวยหรือไม เสียงเปลี่ยนหรือไม 7. มีไขรวมดวยหรือไม เปนมานานเทาไร 8. มีเหนื่อยหอบและแนนหนาอกรวมดวยหรือไม 9. มีอาการเจ็บหนาอกรวมดวยหรือไม หากมี อาการเจ็บนั้นสัมพันธกับการหายใจ หรือไม หรืออาการเจ็บนั้นราวไปที่ใด 10. สูบบุหรี่หรือไม 11. มีหอบหืดรวมดวยหรือไม 12. มีอาการน้ําหนักลดรวมดวยหรือไม 13. มี orthopnea PND รวมดวยหรือไม 14. กรณีผูปวยใหประวัติ negative ตอคําถามขางตนควรซักประวัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับ อาการเจ็บรอนบริเวณลิ้นปหรือประวัติเพื่อโรค GERD III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัวและยาที่ใชประจําทั้งหมด โดยเฉพาะยาในกลุม ACE I
11
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 4: อาการไอเปนเลือด Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการไอเปนเลือด ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการเหนื่อยใหนิสิต พยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. แยกวาไอเปนเลือดหรืออาเจียนเปนเลือด 2. ใหตรวจวามีรอยโรคในชองปาก โพรงจมูก หรือ pharynges หรือไม 3. ใหแยกวาอาการไอเปนเลือดที่ปรากฏเปนโรคที่เฉพาะตอทางเดินหายใจหรือเปนโรคที่มีความผิดปกติของ การแข็งตัวของเลือดทั้งระบบ ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. เลือดออกมาปนเล็กนอย เปนกอน หรือจํานวนมาก 2. เลือดออกมาจากการไอ หรือจากการอาเจียน หรือมาจากชองปาก 3. เปนมานานเทาไร 4. มีอาการไอเรื้อรังรวมดวยหรือไม 5. มีอาการไอมีเสมหะจํานวนมากรวมดวยหรือไม 6. มีไข น้ําหนักลดรวมดวยหรือไม 7. มีประวัติสูบบุหรี่หรือไม 8. มี orthopnea PND รวมดวยหรือไม 9. มีอาการเจ็บหนาอกรวมดวยหรือไม 10. คลําไดกอนหรือตอมน้ําเหลืองบริเวณรักแรหรือเหนือไหปลาราหรือไม 11. ประวัติการไดรับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุบริเวณทรวงอกหรือประวัติไดการรับหัตถการทาง การแพทยที่มีการสองกลองในทางเดินหายใจหรือไม III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว เชน เลือดออกงายหยุดยาก หรือมียาพวกตานการแข็งตัวของเลือด หรือไม
12
History taking skill
History 5: อาการคลื่นไส อาเจียน Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการคลื่นไส อาเจียน ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการคลื่นไส อาเจียน ใหนิสิตพยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. แยกวาเปนโรคในระบบทางเดินอาหารโดยเฉพาะหรือความผิดปกตินอกระบบทางเดินอาหาร อันไดแก ยา บางชนิด ภาวะ increase intracranial pressure และการตั้งครรภเปนตน ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ระยะเวลาที่มีอาการ 2. ความถี่และความรุนแรงของอาการ 3. ลักษณะและปริมาณของการอาเจียน 4. อาการเปนแบบเฉียบพลันหรือคอยเปนคอยไป 5. ชวงเวลาที่มีอาการ เชน morning sickness มักอาเจียนในชวงเชา 6. อาการสัมพันธกับการกินอาหารหรือไม เกิดหลังรับประทานอาหารนานเทาไหร 7. อาการรวมอื่นๆ ไดแก อิ่มงาย แนนทองหลังกินอาหาร ปวดทอง ถายเหลว ไข น้ําหนักลด อาเจียนพุง เวียนศีรษะ บานหมุน ปวดศีรษะ คอแข็ง แขนขาชาหรือออนแรง 8. ประจําเดือนครั้งสุดทาย 9. ยาที่ใช III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว
13
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 6: อาการปวดทอง (abdominal pain) และ จุกแนน แสบทอง (Dyspepsia) Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการปวดทอง ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการปวดทอง ใหนิสิตพยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. แยกวาเปนโรคในระบบทางเดินอาหารโดยใชตําแหนงที่ปวด (Location) เพื่อบอกอวัยวะที่อยูขางใต วาเปนอวัยวะใด 2. ตองใหไดวาเปน surgical , gynecological หรือ medical condition 3. ใหใชประวัติรวมอันไดแก ไข เหลือง ซีด ภาวะทองมาน chronic liver stimata 4. หากผลการซักประวัตินั้นพบวา ผูปวย มีอาการจุกแนนทองหรือแสบทองมากกวาอาการปวดทอง ควรซักประวัติเพิ่มเติมเพื่อแยกภาวะ simple dyspepsia ออกจากโรคของทางเดินระบบน้ําดี (bilinary colic) , โรคลําไสแปรปรวน (irritable bowel syndrome) รวมถึง GI malignancy โดยอาศัยการ ประเมิน alarm features ไดแก ลักษณะในขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ A. ประวัติ - อาการครั้งแรกเมื่ออายุมากกวา 40 ป - Night pain จนตองตื่นนอนกลางดึก - มี significant weight loss (น้ําหนักลดลงมากกวา 5% ในระยะเวลา 1 เดือน หรือ มากกวา 10% ในระยะเวลา 3 เดือน) - อาเจียนเปนเลือดหรือถายดํา - อาเจียนบอยหรือกลืนลําบาก - มีประวัติทองผูกสลับทองเสีย - มีประวัติโรคมะเร็งของระบบทางเดินอาหารในครอบครัว - ไมตอบสนองตอการรักษา B. ตรวจรางกาย - pale conjunctiva - jaundice - left supraclavicular lymph node enlargement (Virchow’s node) - hepatosplenomegaly - fever - palpable abdominal mass - abdominal distension ซึ่งหากประวัติหรือผลการตรวจรางกายพบความผิดปกติขอใดขอหนึ่งจําเปนตองสงตรวจ เพิ่มเติมตามความเหมาะสมไดแก gastroscopy , upper GI study , colonoscopy หรือ ultrasound abdomen เปนตน ขึ้นกับวาผลการตรวจบงชี้ใหคิดถึงโรคใด 5. หากประวัติหรือการตรวจรางกายบงไปทางอาการปวดทอง (abdominal pain) ไมใชจุกแนน แสบทอง (dyspepsia) ใหซักประวัติโดยอาศัยแนวทาง ดังนี้ ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ
14
History taking skill
II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ระยะเวลาที่มีอาการ 2. ลักษณะอาการปวดทอง 3. ความรุนแรงของอาการปวดทอง 4. อาการปวดเปนพักๆ หรือเปนตลอดเวลา 5. อาการเปนแบบเฉียบพลันหรือคอยเปนคอยไป 6. ความถี่ของอาการ เปนบอยแคไหน 7. สิ่งที่ทําใหอาการดีขึ้นหรือแยลง 8. มีอาการปวดราวไปตําแหนงใด 9. การดําเนินโรคเปนอยางไร ถาปวดทองบริเวณลิ้นป ควรซักประวัติเพิ่มเติมดังนี้ 1. อาการรวม ไดแก ตัวตาเหลือง ไข คลื่นไส อาเจียน การถายอุจจาระ น้ําหนักลด 2. ประวัติอดีต เชน แผลในกระเพาะอาหาร การสองกลองทางเดินอาหารหรือการผาตัดชองทอง 3. โรคประจําตัว เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง 4. การใชยาแกปวดขอหรือกลามเนื้อ 5. การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถาปวดทองบริเวณ right upper quadrant ควรซักประวัติเพิ่มเติมดังนี้ 1. อาการรวม ไดแก ตัวตาเหลือง ออนเพลีย คลื่นไส อาเจียน ไข การถายอุจจาระ น้ําหนักลด ไอ เจ็บ หนาอกเวลาหายใจแรงๆ ปสสาวะแสบขัดหรือเปนเลือด 2. การับประทานอาหารพวกปลาเกล็ดขาว 3. ภูมิลําเนา ถาปวดทองบริเวณ right lower quadrant ควรซักประวัติเพิ่มเติมดังนี้ 1. ไข 2. ปสสาวะแสบขัดหรือขุน 3. ประจําเดือนครั้งสุดทาย 4. ตกขาว 5. การผาตัด โดยเฉพาะการผาตัดไสติ่ง 6. ประวัติอดีต เชน โรคหนองใน, เริม
15
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 7: อาการตัวตาเหลือง Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการตัวตาเหลือง ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการตัวตาเหลือง ใหนิสิตพยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. แยกวาเปนโรคในระบบทอทางเดินน้ําดีหรือโรคทางโลหิตวิทยา 2. หากประวัติบงไปในกลุมโรคทอระบบทางเดินน้ําดี ตองซักประวัติเพื่อแยกวาเปน Obstructive jaundice หรือไม ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. มีอาการเหลืองมากตั้งแตแรกหรือคอยๆ เปนมากขึ้น 2. อาการรวม ไดแก คลื่นไส อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดทอง คัน อุจจาระสีซีด สีปสสาวะ น้ําหนักลด ไข 3. โรคประจําตัว 4. ประวัติอดีต โรคตับและทางเดินน้ําดี โรคตับออน การผาตัด 5. การใชยาหรือไดรับสารพิษ 6. การดื่มสุรา 7. ประวัติการไดรับเลือด เพศสัมพันธ 8. ประวัติโรคตับในครอบครัว 9. ผลเลือดการทํางานของตับกอนหนานี้ 10. มีอาการซีดลงหรือไม ขณะตัวเหลืองตาเหลือง 11. มีไขรวมดวยหรือไม อาการไขมพี รอมกับประวัติ ตัวเหลืองตาเหลือง หรืออาการไขทุเลาแลว ตอมาจึงมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง 12. ประวัติการเขาปา และมีไขพรอมเหลือง 13. ประวัติปสสาวะสีผิดปกติ เชน สีเหลืองเขม หรือสีดําคลายโคกหรือน้ําปลา III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว
16
History taking skill
History 8: อาการถายดําหรืออาเจียนเปนเลือด Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการถายดําหรืออาเจียนเปนเลือด ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการถายดําหรืออาเจียน เปนเลือด ใหนิสิตพยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. นิสิตตองแยกวาอาการอาเจียนเปนเลือด เกิดจากแผลในทางเดินอาหาร หรือเปนจากระบบการแข็งตัวของ เลือดที่ผิดปกติ ซึ่งตองซักประวัติการใชยาและประวัติตับแข็งรวมดวย 2. หามลืมการซักประวัติและตรวจรางกายเพื่อแยกภาวะเลือดออกในชองปากดวย หากไมพบความผิดปกติจงึ ซักประวัติตามแนวทางที่ปรากฎนี้ ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ในกรณีที่อาเจียนเปนเลือด ตองแยกจากไอเปนเลือด 2. ลักษณะและปริมาณ 3. ปวดทอง 4. อาเจียนแรงๆ นํามากอน 5. แสบรอนหนาอก เรอเปรี้ยว 6. กลืนเจ็บ 7. ตัวตาเหลือง ทองโต 8. ปสสาวะครั้งสุดทายและปริมาณ ลุกนั่งแลวหนามืด ออนเพลีย กระหายน้ํา ปากคอแหง ซึมลง 9. ประวัติอดีต เคยมีอาการมากอนและการรักษาที่ไดรับ แผลในกระเพาะอาหาร โรคตับแข็ง เลือดออก งาย หยุดยาก โรคมะเร็ง เลือดกําเดาไหลหลายครั้ง การผาตัดหลอดเลือดแดงใหญ 10. การใชยาแกปวดขอหรือกลามเนื้อ 11. ดื่มสุรา 12. ประวัติการกินกรดหรือดาง 13. ประวัติครอบครัว ถายดําหรืออาเจียนเปนเลือด เลือดกําเดาไหล III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว เชน เลือดออกงายหยุดยาก หรือมียาพวกตานการแข็งตัวของเลือด หรือไม
17
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 9: อาการถายเปนเลือดสด Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการถายเปนเลือดสด ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) A. การถายอุจจาระ 1. เปนมานานเทาใด 2. ถายเปนเลือดลวนๆหรือเปนเลือดปนอุจจาระ เลือดเคลือบอุจจาระ มีเลือดหยดเวลาถาย อุจจาระหรือไม (ตองถามใหครบทั้ง 4 ลักษณะ) 3. ลักษณะสีเลือด เปนเลือดสด เลือดเกา(แดงคล้ํา) เลือดดําเหมือนสียางมะตอย 4. อุจจาระมีมูกปนหรือไม 5. ลักษณะการขับถายกอนหนานี้ - กอนหนานี้เคยถายเปนเลือดหรือไม - อาการทองผูก หรือทองเสีย หรือทองผูกสลับทองเสียหรือไม - ลําและขนาดอุจจาระเปลี่ยนแปลงเล็กลงหรือไม 6. ปวดรูทวาร/ปวดเบง/ปวดหนวงบริเวณกนเหมือนอุจจาระไมสุด B. บริเวณรูทวาร 1. มีกอน ติ่งเนื้อ 2. มีกอนยื่นออกมาหรือไม 3. มีหรือเคยมีฝอักเสบ หรือตุมหนอง C. อาการรวมหรือประวัติอื่นๆ 1. เบื่ออาหาร/น้ําหนักลด 2. ปวดทอง/ทองอืด/อาเจียนเปนเลือด 3. ไข 4. มีอาการหนามืดเปนลม 5. มีประวัติไดรับบาดเจ็บบริเวณชองทองหรือรูทวาร D. ประวัติสวนตัวและครอบครัว 1. ดื่มเหลาหรือเคยเปนหรือเปนโรคตับอยูกอนหรือไม 2. เคยมีเลือดออกงาย เลือดหยุดยาก หรือจุดจ้ําเลือดตามตัว 3. ยาที่กินประจําตองระบุวาเปนยาที่ทําใหเลือดออกงาย เชน ยาแกปวดขอ ยา aspirin ยา กันเลือดแข็งตัว 4. มะเร็งลําไสในครอบครัว
18
History taking skill
โรคที่นิสิตแพทยควรรูจัก ที่มี present ดวยอาการถายเปนเลือดสดไดแก neoplasm of rectum or anus (cancer or polyp) , external and internal hemorrhoid , anal fissure , angiodysplasia ,ulcerative colitis , diverticulosis History 10: อุจจาระรวงเฉียบพลัน Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย อุจจาระรวงเฉียบพลัน ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย อุจจาระรวงเฉียบพลัน ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ระยะเวลาที่มีอาการ จํานวนครั้ง ลักษณะอุจจาระ ปริมาณ 2. การขับถายเดิม ประวัติอุจจาระรวงเปนๆหายๆ มากอน 3. การดําเนินโรครุนแรงมากขึ้นหรือนอยลง 4. อาการรวม ไดแก ไข ปวดทอง ปวดเบงที่ทวาร คลื่นไสอาเจียน อุจจาระรวงเดนกวา หรืออาเจียนเดน กวา 5. รับประทานอาหารหรือน้ําดื่มหรือแหลงน้ําที่ไมสะอาด อาหารที่ตั้งทิ้งไวนานๆ อาหารทะเล อาหาร จําพวกเคก ขนมปง แยม 6. มีคนใกลชิดที่มีอาการเชนเดียวกับผูปวยหรือไม 7. ปสสาวะครั้งสุดทายและปริมาณ ลุกนั่งแลวหนามืด ออนเพลีย กระหายน้ํา ปากคอแหง ซึมลง 8. โรคประจําตัว ภาวะภูมิคุมกันบกพรอง 9. การใชยา ยาสมุนไพร 10. เปนที่บาน หรือในโรงพยาบาล หรือในสถานสงเคราะหที่มีการอยูอยางแออัด III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว
19
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 11: อุจจาระรวงเรื้อรัง Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย อุจจาระรวงเฉียบพลัน ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย อุจจาระรวงเฉียบพลัน ใหนิสิตพยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. ใหแยกภาวะ irriteble bowel syndrome ออกกอนตาม Rome II criteria Rome II Criteria for IBS = At least 12 weeks or more, which need not be consecutive, in the preceding 12 months, of abdominal discomfort or pain that has 2 out of 3 features: • • •
Relieved by defecation Onset associated with a change in frequency of stool Onset associated with a change in form (appearance) of stool
1. เพื่อใหการวินิจฉัยเปนไปโดยงาย ควรซักประวัติเพื่อแยก Host วาเปน immunocompromise host เชน HIV หรือไม หาก ผูปวยมีประวัติ immunocompromise ดังกลาว สาเหตุของทองเสียเรื้อรัง จะเปนกลุม โรค opportunistic infection ไดแก Cryptosporidium , Microsporidia , Isospora , Mycobacterium Avium Complex (MAC) , Salmonella , Campylobacter jejuni , Cytomegalovirus (CMV) Infection , Herpes Simplex Virus (HSV) และ non-infectious disease เชน GI lymphoma
ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ระยะเวลาที่มีอาการ อาการเปนเฉียบพลันหรือคอยๆเปน จํานวนครั้ง ปริมาณ ลักษณะ อาการเปนๆ หายๆ 2. การถายชวงกลางคืน 3. อาการสัมพันธกับการกินอาหาร อาหารที่ทําใหมีอาการ 4. อาการรวม ไดแก ปวดทองหรือปวดเบงคลายถายไมสุด ไข น้ําหนักลด คลื่นไส อาเจียน ผายลมบอย 5. อาการของ malnutrition ไดแก ซีด เพลีย บวม มีจ้ําเลือดตามตัว 6. อาการ extraintestinal manifestation ของ IBD ไดแก ปวดขอ ตาอักเสบ แผลในปาก ตุมนูน/แผล 7. อาการของ hyperthyroidism ไดแก ใจสั่น หงุดหงิด ขี้รอน คอโต 8. อาการของ DM ไดแก ปสสาวะบอย กินจุ ดื่มน้ําบอย 9. การกลั้นอุจจาระ 10. unsafe sex, IVDU 11. โรคประจําตัว เชน เบาหวาน ธัยรอยดเปนพิษ การผาตัด การฉายแสง วัณโรค 12. ประวัติครอบครัว เชน มะเร็ง 13. การใชยา 14. การถายอุจจาระเดิม 20
History taking skill
21
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 12: ปสสาวะเปนเลือด (Hematuria) Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย ปสสาวะเปนเลือด ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย ปสสาวะเปนเลือด ใหนิสิตพยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. โรคที่เกิดขึ้นเปนโรคของทางเดินปสสาวะโดยเฉพาะหรือไม หรือเปนความผิดปกติ ในระบบการแข็งตัวของเลือด 2. หากเปนโรคในระบบทางเดินปสสาวะนิสิตตองซักประวัติเพื่อแยกวาพยาธิสภาพเปน Glomerular หรือ non-glomerular hematuria ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. มีอาการนี้มากี่วัน 2. ประวัติรับประทานยาที่ทําใหไปปสสาวะเปลี่ยนเปนสีคลายสีเลือด เชน ยาระบาย 3. ลักษณะปสสาวะเปนสีน้ําลางเนื้อ หรือสีแดงสด หรือสีโคคาโคลา 4. ปสสาวะเปนเลือด สวนแรก สวนกลาง หรือสวนทาย 5. มีอาการอื่นรวมดวยหรือไม เชน มีอาการปวดทองแบบ colicky pain, ปสสาวะแสบขัด , back pain , suprapubic pain ถาเปนผูปวยหญิง มีอาการตามรอบประจําเดือนหรือไม 6. มีประวัติเปนนิ่วมากอนหรือไม หรือ มีประวัติปสสาวะ กรวด ทราย ปนมากับปสสาวะ 7. มีประวัติบวม มี ปสสาวะเปนฟองรวมดวย หรือไม หรือความดันโลหิตสูง รวมดวยหรือไม 8. มีไข ปสสาวะขัด หรือไม การเปลี่ยนแปลงของน้ําหนักตัว เชนน้ําหนักขึ้นจากอาการบวม น้ําหนัก ลดลงผิดปกติ จาก TB and malignancy of KUB 9. กอนหนา มีประวัติไขเจ็บคอ หรือผื่น ฝผิวหนัง ในระยะเวลาที่ผานมา สองถึงสามสัปดาหหรือ ขณะนี้มีไขเจ็บคอรวมดวยหรือไม 10. โรคประจําตัว เชน SLE , โรคมะเร็งของไต หลอดไต กระเพาะปสสาวะ ,โรคที่มีเลือดออกงาย , การใชยาที่ทําใหเลือดออกงายเชน NSAIDs , warfarin 11 . ประวัติ อุบัติเหตุ บริเวณ หลัง ชองทอง หรือ ทอทางเดิน ปสสาวะ เชน การกระแทก เจาะไต ผาตัด III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว
22
History taking skill
History 13: ปสสาวะแสบขัด (Dysuria) Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย ปสสาวะแสบขัด ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย ปสสาวะแสบขัด ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. มีอาการนี้มากี่วัน 2. ลักษณะปสสาวะเปนสีน้ําลางเนื้อ หรือสีแดงสด หรือสีโคคาโคลา หรือ ขุนขนคลายหนอง 3. มีไขไหม ปสสาวะขัด หรือไม ,มีหนองไหลจากทอปสสาวะไหม 4. ถาไมปสสาวะมีอาการขัดในทอปสสาวะ หรือในลํากลองหรือไม 5. มีประวัติเปนนิ่วมากอนหรือไม หรือ มีประวัติปสสาวะ กรวด ทราย ปนมากับปสสาวะ 6. ประวัติสวนตัว **(ใหขออนุญาตผูปวยกอนถามประวัติในสวนนี้กอนเสมอ) อาการของคุณ เปนหลังมีเพศสัมพันธหรือไม คุณมีประวัติมีเพศสัมพันธ กับคนที่ไม สามีหรือ ภรรยา และไมได ปองกันหรือไม คูนอนของคุณ มีอาการแบบคุณหรือไม กรณี ผูปวยหญิง – มีตกขาว คันหรือเปนฟองหรือมีกลิ่น เหม็น หรือ มีกอน ตอมน้ําเหลืองที่ ขาหนีบโตหรือไม มีแผลบริเวณ ชองคลอด ทอปสสาวะ หรือเปนเริม บริเวณดังกลาวหรือไม กรณี ผูปวยชาย – มีความผิดปกติของลูกอัณทะ หรือ มีกอน ตอมน้ําเหลืองที่ขาหนีบโต หรือไมมีแผลบริเวณ ชองคลอด ทอปสสาวะ หรือเปนเริม บริเวณดังกลาวหรือไม III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว
23
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 14: อาการบวม (Edema) Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย อาการบวม ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย อาการบวม ใหนิสิตพยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. เปน localized หรือ generalized edema 2. หากเปน localized edema โรคที่พบบอยไดแก deep venous obstruction , lymphatic obstruction , ภาวะ infection เชน cellulitis , mass , swelling จาก angioedma ที่เกิดจาก hypersensitivity หรือ swelling จาก migratory creeping eruption ซึ่งตองซักประวัติใหครอบคลุมโรคที่กลาวมาทั้งหมด โดยลักษณะทาง clinic ที่แยกอาการบวมเฉพาะที่ไดแก - deep venous obstruction : บวมกดบุมเล็กนอย มักเปนขางเดียว ยกเวน ผูปวยมี mass ในทอง มากด common iliac vein ซึ่งจะทําใหบวมได 2 ขาง มักมีอาการปวดนอง หากเปนนานผิวหนังจะมีสีเขม การ ตรวจ Homam’s sign ใหผลบวก ทั้งนี้นิสิตควรซักประวัติภาวะที่เชื่อมโยงกับ Hypercoagulable stage ไดแก โรคทางโลหิตวิทยาเชน Myeloproliferative disorder และโรคมะเร็งดวย ** กรณี SVC obstruction ผูปวยจะบวมครึ่งตัวดานบน ผูปวยมักใหประวัติมะเร็งปอด ตรวจรางกาย พบ superficial vein dilatation บริเวณหนาอก เสนเลือดดําบริเวณหลังมือจะโปงพองผิดปกติและเมื่อยกมกือบ ริเวณขางดังกลาวสูงกวาระดับหัวใจจะพบวาเลือดเลือดนั้นยังโปงพองอยูเชนเดิม ใหซักประวัติและตรวจ รางกายเพื่อหาตอมน้ําเหลืองบริเวณคอและรักแรเพิ่มเติม ** กรณีผูปวย stroke จะพบวา ผูปวยจะบวมไดงายในสวนที่เปน dependent part เนื่องจาก vascular tone ของ venous system ลดลงกวาปกติ นอกจากนี้ หากบวมที่ upper extremities เพียงขางเดียว ควรซักประวัติ vascular injury เชนการใส venous catheter ของ subclavian vein , ประวัติการทํา cut down บริเวณ cubital fossa เปนตน - lymphatic obstruction : บวมกดไมบุม มักเปนที่ขาขางเดียว ผิวหนังมีลักษณะคลายผิวสมถาเปน เวลานาน โรคที่นิสิตควรรูจักคือ elephantiasis กรณีบวมที่ upper extremitis ควรซักประวัติ โรคมะเร็งเตานม ประวัติการฉายแสงและการผาตัดตอม น้ําเหลืองบริเวณรักแร - Infection and skin tumor : ลักษณะที่ตรวจพบ จะพบ sign of inflammation ในกรณีที่เปน infection สวนกรณีที่เปน skin mass ก็มีลักษณะกอนชัดเจน 3. หากเปน generalized edema ตองซักประวัติเพื่อแยกแยะโรคที่เกิดจาก cardiogenic cause , renal cause , chronic liver disease และ ภาวะ malnutrition ในที่นี่จะแสดง knowledge content เฉพาะการซักประวัติเพื่อแยกโรคใน generalized edema ดังนี้คือ
24
History taking skill
ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. มีอาการหอบเหนื่อย (dyspnea) นอนราบไมได (orthopnea) นอนแลวตองลุกขึ้นมาหอบกลางคืน (PND) หรือไม 2. อาการบวมเกิดขึ้นที่ขาทั้งสองขางหรือไม กดบุมหรือไม 3. มีอาการทองโตรวมดวยหรือไม 4. มีโรคประจําตัวเชนโรคไตหรือโรคตับหรือไม หรือภาวะขาดสารอาหาร 5. อาการบวมเกิดขึ้นที่ใดอีกนอนจากที่ขา เชน มีหนังตาบวมในตอนเชา (Puffy eyelids) อาการบวม บริเวณกนกบเมื่อนั่งหรือนอนนานๆ หรือตื่นมาพบในตอบเชา (presacral edema) 6. ประวัติการใชยาพวก NSAIDS , calcium channel blocker 7. ภาวะรวมอื่นๆ เชน - Hypothyroidism ใหถามประวัติอาการรวมเชน ทองอืด ทองผูก น้ําหนักเพิ่ม เสียงแหบ - SLE ใหถามประวัติ ผื่น ผมรวง แพแสง ประวัติการไดรับ steroid หรือยาลูกกลอน III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว
25
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 15: อาการปวดศรีษะ (Headache) Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย อาการปวดศรีษะ ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย อาการปวดศรีษะ ใหนิสิตพยายาม แยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. อาการปวดศีรษะเปนโรคที่มีความผิดปกติดานโครงสราง(structure) บริเวณศรีษะ หรือสมอง หรือเปนกลุม ที่ไมพบการผิดปกติชัดเจน(functional headache) 2. ควรซักประวัติอาการที่พบรวมเชน ไข คอแข็ง ยา และสิ่งกระตุน การมองเห็นภาพซอน แสงที่ผิดปกติ เปนตน 3. ใหจัดกลุมอาการปวดศีรษะ เปน 3 ประเภท 3.1. Acute onset (เปนนาที ชั่วโมง หรือภายใน 2-3 วัน) ใหนึกถึงกลุมโรคหลอดเลือดสมอง เลือดออกใน subarachnoid เยื่อหุมสมองอักเสบ การติดเชื้อ หรือภาวะอักเสบบริเวณศีรษะและใบหนา เชน Herpe zoster, acute glaucoma, sinusitis, เปนตน 3.2. Subacute onset (ตั้งแต 1-6 เดือน) ไดแก กลุมโรคเนื้องอกหรือฝในสมอง ซึ่งกอนโตขึ้นชาๆ รวมไป ถึง temporal arteritis ดวย 3.3. Chronic onset (ตั้งแต 6 เดือนขึ้นไป) ผูปวยมักใหประวัติปวดศีรษะเรื่อรังมาเปนปๆ อาการเปนๆ หายๆ ไดแก กลุมโรค function headache เชน migrane, tension headache, cluster headache ตัวอยาง ผูปวยหญิงอายุ 25 ป มาพบแพทยดวยอาการปวดศีรษะ 3 วัน จงซักประวัติเพื่อใหไดขอมูลที่ชวยใน การวินิจฉัยและคนหาสาเหตุ
26
History taking skill
ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. Age of onset (อาการเปนแบบเฉียบพลัน คือเกิดขึ้นทันที, กึ่งเฉียบพลัน หรือ เรื้อรัง) 2. ความถี่ของอาการปวดศีรษะ(จํานวนครั้งตอวัน/สัปดาห/เดือน) 3. ระยะเวลาของอาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นในแตละครั้ง(นาที/ชั่วโมง/วัน) 4. ชวงเวลาหรือกิจกรรมที่กาํ ลังปฏิบัติขณะเกิดอาการ เชน อาการเปนในชวงบาย ขณะทํางาน, ขณะไอ หรือจาม, หรือตองตื่นนอนกลางดึกเพราะปวดศีรษะ 5. อาการนํากอนปวดศีรษะ เชน หิวมาก ทานมาก หาวบอย งวงนอนมากผิดปกติ 6. Aura เชน กอนมีอาการ มีการเห็นภาพ หรือ แสงผิดปกติ อะไร หรือไม 7. บริเวณที่มีอาการปวดศีรษะและบริเวณที่มีอาการปวดราว เชน ปวดทั่วทั้งศีรษะ, ปวดครึ่งซีก, ปวด บริเวณขมับ, ปวดรางรอบกระบอกตา, หรือ ปวดทายทอยลงมายังตนคอ 8. ลักษณะของอาการปวดศีรษะ เชน ปวดตุบๆ(throbbing pain), ปวดเหมือนถูกมีดหรือเข็มแทง (stabbing pain), ปวดทันทีเหมือนมีอะไรระเบิดในศีรษะ(thunderclap headache), หรือปวดแบบ ตื้อๆ 9. อาการอื่นที่มีรวมเชน คลื่นไส อาเจียน, ถายเหลว, ปวดหรือแสบตาดานเดียวกับที่ปวดศีรษะ, ชา บริเวณรอบปากและแขน, เวียนศีรษะบานหมุน, เดินเซ, ปวดเมื่อยตามตัว 10. ปจจัยที่กระตุนใหเกิดอาการปวดศีรษะ เชน ความเครียด, สุราหรือยาบางชนิด, กาแฟ, ออกกําลังกาย , การมีเพศสัมพันธ 11. ปจจัยที่ทําใหอาการปวดศีรษะรุนแรงขึ้น เชน ไอ, จาม, เบง หรือ การเปลี่ยนทาทาง 12. ปจจัยที่ชวยบรรเทาอาการปวดศีรษะ เชน การประคบเย็น หรือ บีบนวด III. ประวัติอดีต; ใหถามโรคประจําตัว, การบาดเจ็บบริเวณศีรษะ, และการแพยา,ประวัติการรักษา และยาที่เคยไดรับ,ประวัติโรคทางพันธุกรรมและความผิดปกติในครอบครัว ,ขอมูลสวนบุคคลและขอมูลทาง สังคมของผูปวย เชน อาชีพ, สถานะทางการเงิน, ปญหาการหยาราง, นิสัยสวนตัว และอารมณ
27
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 16: อาการซีด (anemia) Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย อาการซีด ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย อาการโลหิตจาง ใหนิสิตพยายาม แยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. ใหแบงแยกตามกลไกของภาวะซีด ไดแก 1.1. การสรางเม็ดเลือดแดงนอย เชน โรคของไขกระดูก (marrow disease), โรคของภาวะทุพ โภชนาการ ไดแก iron deficiency, vitamin B6 or B12 deficiency 1.2. การทําลายเม็ดเลือดแดงมาก เชน acute or chronic blood loss, ภาวะ hemolysis 2. หรืออาจแบง จําแนกตามขนาดของเม็ดเลือดแดง ไดแก 2.1. Microcytic anemia (MCV<80fl) ไดแก iron-deficiency anemia, thalassemia, lead poisoning 2.2. Macrocytic anemia (MCV>100fl) ไดแก megaloplastic anemia, chronic liver disease, aplastic anemia, reticulocytosis 2.3. Normocytic anemia (MCV=80-100fl) มักพบใน anemia of chronic disease, anemic in acute blood loss 3. นิสิตควรซักประวัติครอบครัว พี่นอง ประวัติซีดตั้งแตเด็ก การคลําไดกอนในทอง การรับเลือดแตเด็ก เพื่อแยกโรค hereditary ออกจาก acquire disorder หมายเหตุ ในกรณีผูปวยหญิงใหซักประวัติประจําเดือนทุกราย เปนจุดที่นิสิตมักลืม ที่สําคัญเรื่องนี้เปน เรื่องสวนตัว ใหขออนุญาติผูปวยกอนซักประวัติเสมอ ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1.ประวัติการเสียเลือด เชน การถายดํา, ถายเปนเลือดสด, ไอหรืออาเจียนเปนเลือดสด ประวัติ เกี่ยวกับประจําเดือน 2. ประวัติเกี่ยวกับ hemolysis ควรถาม ตาเหลือง, ตัวเหลือง, ปสสาวะสีเขม คลายสีน้ําปลา ประวัติ ซีดตอนเด็ก ประวัติการติดเชื้อมาลาเรีย 3. ประวัติที่บงถึงโรคไขกระดูก เชน มีจ้ําเลือดตามตัว ซึ่งบงถึงมีเกล็ดเลือดต่ํารวมดวย 4. ประวัติเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร โภชนาการ และสุขบัญญัติ ไดแก ไมชอบกินผัก กินอาหาร มังสวิรัต ประวัติการผาตัดกระเพาะอาหาร ประวัติถา ยอุจจาระพบพยาธิ ประวัติ creeping eruption ของพยาธิตามผิวหนัง 5. ประวัติโรครวมอื่นๆ ไดแก • โรคประจําตัว • การคลํากอนผิดปกติ ในตําแหนง ตอมน้ําเหลือง เชน คอ รักแร ขาหนีบ • ประวัติคลําไดกอนในทองบริเวณตับ และมาม • ประวัติการรับยา เชน dapsone • ประวัติ B symptom ไดแก ไขเหงื่อออกตอนกลางคืน น้ําหนักลด
28
History taking skill
History 17: อาการเลือดออกผิดปกติ (bleeding disorder) Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย อาการเลือดออกผิดปกติ ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย อาการเลือดออกผิดปกติ ใหนิสิต พยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. ใหแยกวาการผิดปกติที่เกิดขึ้น เปนความผิดปกติของเกล็ดเลือด หรือหลอดเลือด หรือความผิดปกติ ของcoagulation system ดังนี้คือ 1.1. ลักษณะทางคลินิคของ platelet disorder – petechiae, ecchymosis, small or discrete ecchymosis, mucosal bleeding 1.2. ลักษณะทางคลินิกของ vascular disorder – palpable purpura, symmetrical distribution, located at dependent parts 1.3. ลักษณะทางคลินิกของ coagulation disorder – large and deep ecchymosis, hematoma, hemarthrosis ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ถามถึงจํานวนเลือดที่ออก ระยะเวลาที่ออก อาการหนามืดวิงเวียน เปนลม หรือ ออนเพลียเพื่อ ประเมินความรุนแรงของเลือดที่ออกผิดปกติ 2. ถามลักษณะของเลือดที่ออกผิดปกติ เพื่อจําแนกชนิดของความผิดปกติ petechiae- จุดเลือดออก รีดไมจาง ecchymosis- จ้ําเลือดเขียวมวงใตผิวหนัง mucosal bleeding- เลือดในเยื่อบุชองปาก ตามไรฟน purpura- จ้ําเลือดออกขนาดใหญใตผิว หนัง hemarthrosis- เลือดออกในขอ 3. ประวัติที่ใชประจํา เชน aspirin, warfarin, NSAIDs 4. ประวัติสุรา และโรคตับ 5. ประวัติเลือดออกงายหยุดยากในครอบครัว หรือตอนเด็ก 6. ประวัติการกระทบกระแทก อุบัติเหตุ
29
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 18: อาการเจ็บหนาอก Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย อาการเจ็บหนาอก ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวย อาการเจ็บหนาอก ใหนิสิตพยายาม แยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. ใหแยกใหไดวาเปน cardiovascular chest pain or non-cardiovascular chest pain โดย cardiovascular chest pain ไดแก angina pectoris, pericarditis, acute aortic dissection เปนตน สวน non-cardiovascular chest pain สาเหตุที่พบบอยไดแก pleuritic chest pain, pneumothorax, esophageal pain, costochondritis และ herpe-zoster 2. ใหถามรายระเอียดใหครอบคลุมหรือใชกฏ “LODCRAF” = Location, Onset, Duration,Character (quality, intensity), Radiation, Associated symptom, Factor (Aggrevate/relieve) 3. ควรถาม โรคประจําตัวเพื่อหา risk factor ในการชวยวินิจฉัยโรค DM , HTN ,DLDÆ arterosclerotic disease Æ MI Smoking , COPD, trauma Æ pneumothorax DVT ,Malignancy Æ pulmonary embolism ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ลักษณะเจ็บอยางไร, ใหถามดวยคําถารมปลายเปดกอน หากผูปวยไมเขาใจ อาจยกตัวอยาง เชน ปวดแบบบีบรัดหนักๆ เหมือนมีของหนักกดทับ หรือปวดเหมือนถูกจิ้มดวยของแหลม 2. อาการปวด เกิดขึ้นขณะทําอะไร เชน ขณะออกกําลังกาย หรือขณะรับประทานอาหาร ทําอะไรอาการ ปวดจึงจะดีขึ้น 3. เคยมีงูสวัส บนหนาอกหรือไม 4. ประวัติเรอเปรี้ยว 5. ประวัติการยกของหนักหรือ อุบัติเหตุบริเวณหนาอก 6. อาการเจ็บ สัมพันธกับการหายใจ, อาการไอแรงๆ, การขยับแขน หรือออกแรง หรือไม 7. ประวัติโรคประจําตัวที่สัมพันธกับ artherosclerotic disease เชน DM, hypertension, dyslipidemia, smoking 8. อาการปวดเปนอยูนานเทาไหร 9. ตําแหนงที่เจ็บสามารถบอกไดชัดเจน ชี้ไดเปนจุด หรือไมสามารถบอกขอบเขตไดชัดเจน 10. มีอาการปวดราวไปบริเวณอื่นหรือไม III. ประวัติอดีต ;ถามโรคประจําตัว เชน ischemic heart disease, valvular heart disease โดยเฉพาะ mitral valve prolapse และ aortic stenosis, นอกจากนี้ควรใหความสนใจถึงโรคประจําตัวอื่นดวยไดแก COPD, GERD เปนตน
30
History taking skill
History 19: อาการหอบเหนื่อย Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวย อาการหอบเหนื่อย Setting: จงซักประวัติ ผูปวยซึ่งมาดวยอาการเหนื่อย ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการเหนื่อยใหนิสิต พยายามแยกแยะกลุมผูปวยดังตอไปนี้ 1. ใหนิสิตเนนการซักประวัติเพื่อแยกแยะอาการเหนื่อยจาก 4 กลุมโรคไดแก heart-lungs-metabolicpsychogenic 2. เพื่อแยกแยะกลุมโรคที่เปนสาเหตุไดแลว ใหซกั ประวัติตอเนื่องเพื่อหาสาเหตุเฉพาะของอาการนั้น ตัวอยางเชน หากอาการเหนื่อยเปนจาก • Heart o myocardium เชน MI ,myocarditis o endocardium เชน valvular heart disease o pericardium เชน pericardium effusion • Lungs - ใหแยกวาเปน o Lung parenchymal disease เชน pneumonia o Airway disease เชน asthma ,COPD o Pulmonary vascular disease เชน pulmonary embolism , pulmonary hypertention o Pleural disease เชน pleural effusion o Respiratory muscle และ diaphragm disease เชน โรคกลามเนื้อออนแรงจาก MG o Metabolic-ไดแก severe metabolic acidosis ,salicylate intoxication o Psychogenic-ไดแก hyperventilation syndrome ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. Onset – อาการเหนื่อยเกิดขึ้น อยางเฉียบพลัน หรือคอยเปนคอยไป 2. อาการรวมสําคัญ ไดแก การหายใจเสียงดัง อาการบวม อาการหอบเหนื่อยตอนกลางคืน ประวัติการ ซีด ประวัติมีไข ประวัติไอ หรือไอเปนเลือด สภาวะเครียดวิตก กังวลอยางรุนแรง 3. ความสัมพันธกับการออกแรง ความสามารถในการทํางานเดิมที่ผูปวยทําได 4. ประวัติหนุนหมอนหลายใบ 5. ทาทางที่ทําใหผูปวยหอบเหนื่อยมากขึ้นหรือลดลง 6. สิ่งที่ทําใหอาการเหนื่อยดีขึ้น เชนการพนยาขยายหลอดลม หรือสิ่งที่ทําใหอาการหอบเหนื่อยแยลง เชนกินยา B-blocker และประวัติฝุนละออง 7. มีอาการเจ็บหนาอกรวมดวยหรือไม 8. ยาที่รับประทาน ที่อาจมีผลทําใหเกิด acidosis เชน metformin, alcohol, ยาตานไวรัสเอดสบางชนิด 9. ประวัติอุบัติเหตุบริเวณทรวงอก III. ประวัติอดีต ;ถามโรคประจําตัว ไดแก ischemic heart disease, renal disease, hyperthyroid, anemia, smoking, COPD, asthma, lung cancer
31
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 20: อาการไข ปวดขอ ในเด็ก Setting: จงซักประวัติ ผูปวยเด็กจากญาติ ซึ่งมาดวยปญหาไข ปวดขอ ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติญาติของผูปวยเด็ก ที่มาดวย อาการ ผิดปกติดังนี้ เด็กชายไทยอายุ 6 ปมาพบแพทยดวยเรื่อง ไขมา 1 สัปดาห ปวดขอเทาขวามากมา 3 วัน 7 วันกอนมา รพ. มีไขสูง ปวดขอเทาขวา บวมแดงเล็กนอย เดินลําบาก ไมมีประวัติไดรับอุบัติเหตุใดๆ PE: V/S: BT 38.8 C, PR 122 /min, BP 100/70 mmHg, RR 20 /min BW 20 Kg. , Ht 115 cm. Good consciousness, not pale, no jaundice Lungs : normal Abdomen: Soft, not tender, Liver and spleen cannot be palpated จากโจทยนิสิตพึงใหการวินิจฉัยแยกโรคในใจเพื่อใหการซักประวัติครอบคลุมโรคดังนี้ คือ A. Infectious process,ไดแก systemic infection โดยเฉพาะกลุมไขออกผื่นจาก virus,Infectious mononucleosis ,subacute endocarditis ที่มีembolic หรือ/และ immunologic phenomena เปนตน B. Non-Infectious process ไดแก reaction จากการแพยา, immunologic reaction ที่ปรากฏ ใน post streptococcal infection, connective tissue disease เชน SLE ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ วัคซีน พัฒนาการ และการเรียน II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1.ประวัติลักษณะอาการปวดขอ • จํานวนครั้ง • ตําแหนง • ลักษณะปวดยายขอ 2.ประวัติการติดเชื้อ Gr.A Streptococcus • ประวัติการเจ็บคอ • ประวัติการรักษา 3.ประวัติผื่นตามตัว • ลักษณะผื่น • ตุมนูนแข็ง กดไมเจ็บ ตามหลังมือ 4.ประวัติทางระบบประสาท • การเคลื่อนไหวรางกายผิดปกติ
32
History taking skill
5.ประวัติอาการหัวใจลมเหลว • เหนื่อยงาย • นอนราบไมได • บวม 6.ประวัติไขและ pattern ของไข 7.ประวัติยาที่ไดรับ 8.ประวัติการแพยา 9.ประวัติการเจ็บปวยในอดีต(รวมถึงประวัติโรคประจําตัว) 10.ประวัติครอบครัว 11.ประวัติเกี่ยวกับSLE • ผมรวง • Malar rash หรือ ผื่นแพแสง • Painless oral ulcer หรือแผลในปาก
33
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 21: เด็กอวน Setting: จงซักประวัติ ผูปวยเด็กจากญาติ ซึ่งมาดวยปญหาอวนหรือน้ําหนักเกิน ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ วัคซีน พัฒนาการ และการเรียน II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) 1. ประวัติครอบครัวเกี่ยวกับอวน, เบาหวาน, HT, coronary artery disease, cerebrovascular disease เพื่อประโยชนในการประเมินความเสี่ยงที่ผูปวยจะมีโรคแทรกซอน 1. อายุที่เริ่มอวน 2. Feeding : การใหอาหารตั้งแตเด็ก, อาหารที่รับประทานประจําวันทั้งชนิดและปริมาณ และลักษณะ, นิสัยในการรับประทาน เชน น้ําอัดลม น้ําหวาน ขนมจุบจิบ หรือรับประทานอาหารมื้อหลักครั้งละ มากๆ, การซื้ออาหาร, ผูเตรียมอาหาร 3. กิจกรรมตางๆ ไดแก การออกกําลังกาย การใชเวลาในแตละวัน การเลน การดูโทรทัศน 4. ทัศนคติของบุคคลในบานตอน้ําหนักเด็ก 5. โรคประจําตัว แพยา 6. ยาที่ใชประจํา
34
History taking skill
History 22: เด็กเลี้ยงไมโต (failure to thrive: FTT) , น้ําหนักตัวนอย ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติ เด็กเลี้ยงไมโต (failure to thrive: FTT) , น้ําหนักตัวนอย มี หลักการดังนี้ FTT: เด็กมีอัตราการเจริญเติบโตโดยเฉพาะน้ําหนักนอยกวาเปอรเซ็นตไทลที่ 3 หรือ 5 หรือมีอัตราการ เจริญเติบโตลดลงขามผานเสนเปอรเซ็นไทลหลัก (P3, 10, 25, 50, 75, 90 และ 97) ตั้งแต 2 เสนขึ้นไปใน ชวงเวลาสั้นๆ แบงเปน 2 ชนิดคือ 1. organic FTT: มีสาเหตุจากโรคทางกาย 2. nonorganic FTT หรือ psychosocial FTT: หมายถึงเด็กอายุนอยกวา 5 ป ที่มีการเจริญเติบโตชา โดยไมมีสาเหตุของโรคทางกายชัดเจน สาเหตุของ FTT จําแนกตามอายุ ทารกแรกเกิด - การใหนมมารดาลมเหลว - การเตรียมหรือผสมนมไมเหมาะสม - Psychosocial FTT - กลุมอาการที่เปนตั้งแตกําเนิด - การติดเชื้อขณะตั้งครรภ - การสัมผัส teratogen วัยทารกตอนตน - psychosocial FTT เด็กที่ถูกทอดทิ้ง มารดามีภาวะซึมเศรา - การเตรียมหรือผสมนมไมเหมาะสม - โรคหัวใจพิการแตกําเนิด มีความผิดปกติทางระบบประสาท มีการติดเชื้อ บอยๆ วัยทารกตอนปลาย - แพอาหาร - เด็กที่ถูกทอดทิ้ง - เริ่มใหอาหารที่เหมาะสมตามวัยชา - ภาวะที่มีการติดเชื้อบอยๆ ตั้งแตวัยเตาะแตะ - โรคเรื้อรังที่มาเปนภายหลัง - เด็กที่วอกแวกงาย (highly distractible child) - สภาพแวดลอมขณะกินอาหารไมเหมาะสม - กินอาหารไมเพียงพอ - ภาวะที่มีการติดเชื้อบอย แนวทางการวินิจฉัยภาวะ FTT จากลักษณะทางคลินิก ประวัติหรือตรวจรางกาย
การวินิจฉัยแยกโรค
แหวะ อาเจียน ปฏิเสธอาหาร ถายอุจจาระเหลว หรืออุจจาระลักษณะเปนไขมัน นอนกรน นอนอาปากหายใจ ตรวจรางกายไดยิน recurrent wheezing การติดเชื้อบอยๆ เดินทางไปยังประเทศกําลังพัฒนา
โรคกรดไหลยอนจากกระเพาะอาหาร ตอมทอนซิลอักเสบเรื้อรัง แพอาหาร แพโปรตีนนมวัว ภาวะดูดซึมบกพรอง พยาธิในลําไส ตอมอะดีนอยดโต ตอมทอนซิลโต ภาวะทางเดินหายใจสวนตนอุดกั้น หอบหืด สําลัก ติดเชื้อในปอด แพอาหาร โรคเอดส โรคภูมิคุมกันบกพรองแตกําเนิด โรคติดเชื้อปรสิตหรือแบคทีเรียในทางเดินอาหาร
35
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) การซักประวัติควรซักเกี่ยวกับ • ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตตั้งแตกอนคลอด ขณะคลอด และหลังคลอด • ประวัติการใหอาหารและกินอาหารอยางละเอียด โดยเฉพาะการจดบันทึกรายการอาหาร 3 วัน (three-day food diary) ไดแก ชนิดของอาหาร การผสมนมหรือการเตรียมอาหาร ความถี่ของการกิน อาหาร • ผูที่ดูแลการใหอาหารเด็กตลอดวัน การตอบสนองของบิดามารดาเมื่อเด็กปฏิเสธอาหาร ปฏิสัมพันธ ระหวางบิดามารดากับเด็กระหวางการใหอาหาร การดูด เคี้ยว และกลืนอาหารของเด็ก อาการ อาเจียน ถายเหลว หรือปญหาการดูดซึม • ลักษณะทางคลินิกตามระบบตางๆ จะชวยในการวินิจฉัยสาเหตุของ FTT ไดงายขึ้น (ตามตาราง ดานบน) ปจจัยที่มีผลตอการใชพลังงานมากขึ้นไดแก ประวัติโรคประจําตัว โดยเฉพาะ โรคติดเชื้อ โรคเรื้อรังตางๆ หรือกรณีที่ไดรับการรักษาในโรงพยาบาลหลังคลอด เชน การใสทอชวยหายใจ การ ทําหัตถการตางๆ ซึ่งเด็กอาจเชื่อมโยงประสบการณใหมขณะเริ่มกินอาหารกับเหตุการณที่เคยอยูใน โรงพยาบาล ซึ่งทําใหเด็กปฏิเสธอาหารในที่สุด ซึ่งอาจเปนอาการแสดงของพฤติกรรมการกินอาหารที่ ผิดปกติซึ่งเกิดภายหลังจากไดรับประสบการณที่รุนแรง (post-traumatic feeding disorder) • ประวัติการเจริญเติบโตและโรคประจําตัวในครอบครัว รวมทั้งประวัติทางดานสังคม การตรวจรางกาย ควรตรวจทุกระบบเพื่อหาโรคทางกายที่อาจเปนสาเหตุของการเจริญเติบโตที่ลาชา โดยเฉพาะ • ระบบประสาทและพัฒนาการ เพื่อตรวจหาการกลืนที่ผิดปกติ หรือภาวะสมองพิการ (CP) • ตรวจผิวหนัง หู หัวใจ หรือชองทอง เพื่อวินิจฉัยโรคทางกายที่ไมมีอาการชัดเจน ไดแก โรคหู น้ําหนวกเรื้อรัง โรคหัวใจพิการแตกําเนิด กอนในชองทอง เปนตน • ลักษณะทางรางกายที่ผิดปกติ (dysmorphic feature) อาจชวยในการวินิจฉัย syndrome บางชนิดได เชน Russell-Silver syndrome , Fetal alcohol syndrome ในแมที่ดื่มแอลกอฮอลขณะตั้งครรภ • น้ําหนัก สวนสูง วัดเสนรอบศีรษะ สัดสวนของรางกาย (body proportion) upper ตอ lower segment ratio รวมทั้งประเมินภาวะโภชนาการ • ตรวจหาหลักฐานของการทําทารุณกรรมเด็ก (child abuse) ตลอดจนสังเกตพฤติกรรมของเด็กขณะ ดูดนม กินอาหารเองหรือถูกปอน พฤติกรรมของผูเลี้ยงดูขณะใหอาหารเด็ก ปฏิสัมพันธระหวางบิดา มารดากับเด็ก จะชวยใหแพทยเขาใจถึงปจจัยดานตางๆ ที่มีผลตอการกินอาหารของเด็กอยางรอบ ดาน
36
History taking skill
History 23: ภาวะเลือดออกผิดปกติทางชองคลอด ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยเลือดออกผิดปกติทางชอง คลอด มีหลักการดังนี้ สาเหตุจําแนกตามอายุ - ทารกแรกคลอด จากภาวะ estrogen withdrawal - วัยกอนมีระดู Foreign bodies Trauma Precocious puberty Hormone-producing ovarian tumor - วัยเจริญพันธุ Pregnancy-related condition : threaten abortion, incomplete abortion, molar pregnancy, ectopic pregnancy, missed abortion Dysfunctional uterine bleeding Vaginitis, cervicitis, endometritis Trauma Foreign body ex. IUD Hormone-producing ovarian tumor Cervical polyp Myoma uteri Cancer : cervical cancer, endometrial cancer, vaginal cancer Coagulaopathy Exogenous hormone - perimenopause Anovulation Myoma uteri, adenomyosis, endometrial polyp Cancer : cervical cancer, endometrial cancer, vaginal cancer - วัยหมดประจําเดือน Atrophy Cancer Hormone replacement therapy
37
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) I. ประวัติทั่วไป ; ถามชื่อผูปวย อายุ อาชีพ II. อาการหลักของโรคที่ปรากฏ (presenting history) - ประวัติของเลือดที่ออก เชน ระยะเวลาที่เกิดขึ้น ลักษณะของเลือด ( สี กลิ่น กอนเลือด ชิ้นเนื้อ ) ปริมาณของ เลือดที่ออก - ปจจัยที่เกี่ยวของ เชน ออกหลังมีเพศสัมพันธ อุบัติเหตุ ความเครียด การออกกําลังกาย - อาการรวมอื่น เชน อาการคลื่นไสอาเจียน ความแปรปรวนทางอารมณ อาการคลื่นไสอาเจียน อาการปวด ทอง มีไข อาการขนดก มีสิว อาการคัดตึงเตานม มูกทางชองคลอด การเปลี่ยนแปลงของน้ําหนัก - ประวัติการไดรับยา เชน ฮอรโมนเสริม - ประวัติเกี่ยวกับระดู เชน ระดูครั้งสุดทาย ปริมาณ ระยะเวลา ลักษณะกระปดกระปรอย - ประวัติการตั้งครรภ และการคุมกําเนิด - ประวัติโรคประจําตัว โดยเฉพาะโรคเลือด ควรถามเจาะจงโรคที่เกี่ยวของเลย เชน เลือดออกงายหยุดยาก - ประวัติครอบครัว โดยเฉพาะโรคมะเร็ง - ประวัติการมีเพศสัมพันธ โรคติดตอทางเพศสัมพันธ หมายเหตุ: นิสิต ควรขออนุญาตผูปวย หากการซักประวัติ ตองถามเรื่องสวนตัวมาก หรือเกี่ยวการมี เพศสัมพันธ
38
History taking skill
History 24: ภาวะตกขาวผิดปกติทางชองคลอด ( Abnormal leukorrhea ) ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยภาวะตกขาวผิดปกติทางชอง คลอด มีหลักการดังนี้ Candidiasis
Bacterial vaginosis
Trichomoniasis
อาการแสดง
Itching dyspareunia Erythema at vulvar
Foul smell no dyspareunia Sticky discharge
สีตกขาว
White
Grey
Foul smell dyspareunia Erythema of vagina Pus-like discharge Grey yellow
consistency
floccular
homogeneous
homogeneous
pH
4.0 – 4.5
> 4.5
5.0 – 7.0
Wet smear
pseudohyphae
Clue cell positive
Motile trichomonas 60%
อาการ
Amine test < whiff test Negative Positive > 10% KOH Positive pseudohyphae Negative Treatments
- Clotrimazole 100mg vagina for 7 days - fluconazole 150 mg oral single dose
- metronidazole 500 mg oral bid for 7 days
Possible positive Negative - metronidazole 2 gm oral single dose or 500 mg bid 7 days for couple
ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) - วัยเด็ก มักเกิดจากความสกปรก ทําความสะอาดไมถูกวิธี หรือใสสิ่งแปลกปลอมเขาไปในชองคลอด วัยเจริญพันธุ มักเกิดจากโรคติดตอทางเพศสัมพันธ วัยหมดประจําเดือน สัมพันธกับการขาดฮอรโมนเอสโตรเจน หรือจากมะเร็ง - ประวัติการมีเพศสัมพันธ คูนอน - ประวัติที่เกิดรวมกับอาการตกขาว เชน อาการคัน ปวดแสบเวลาปสสาวะ หรือเจ็บเวลามีเพศสัมพันธ - ลักษณะของตกขาว ปริมาณ และระยะเวลาที่เกิด - ประวัติการรักษาตกขาว โรคติดตอทางเพศสัมพันธของทั้งผูปวยเองและสามี - ประวัติโรคประจําตัว เชน เบาหวาน โรคที่เกี่ยวเนื่องกับภูมิคุมกันบกพรอง - ประวัติการใชยา เชน ยากดภูมิคุมกัน - ประวัติการคุมกําเนิด โดยเฉพาะยาเม็ดคุมกําเนิด เนื่องจากอาจเพิ่ม colonization ของเชื้อราในชองคลอด หวงอนามัย การใชฟองน้ําหรือไดอะแฟรมในการคุมกําเนิด - ประวัติการใชยาปฏิชีวนะ เชน penicillin tetracycline ซึ่งทําให lactobacilli ในชองคลอดลดลงมีโอกาสติด เชื้อรามากขึ้น หมายเหตุ: นิสิต ควรขออนุญาตผูปวย หากการซักประวัติ ตองถามเรื่องสวนตัวมาก หรือเกี่ยวการมี เพศสัมพันธ 39
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 25: ภาวะขาดประจําเดือน ( secondary amenorrhea ) ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยภาวะขาดประจําเดือน มีหลักการดังนี้ สาเหตุของการขาดประจําเดือน 1. มดลูก การตั้งครรภ ภาวะพังผืดในโพรงมดลูก ( Asherman’s syndrome ) ซึ่งมักเกิดภายหลังการทําหัตถการในโพรง มดลูก เชน การขูดมดลูกอยางรุนแรง 2. รังไข รังไขลมเหลวกอนกําหนด ( premature ovarian failure ) ซึ่งอาจเกิดจากโรคทางอายุรกรรม เชน ภาวะภูมิคุมกันผิดปกติ หรือความผิดปกติของโครโมโซม เนื้องอกรังไข ภาวะรังไขถูกทําลาย เชน การผาตัด เคมีบําบัด 3. ความผิดปกติที่ตอมใตสมอง โปรแลคตินในเลือดสูง ( hyperprolactinemia ) เชนเนื้องอกของตอมใตสมอง ( prolactinoma ) ภาวะที่ตอมใตสมองถูกทําลาย เชน จากการเสียเลือดมากฉับพลันทําใหเกิด Sheehan’s syndrome 4. ความผิดปกติของ hypothalamus ไมทราบสาเหตุ ความเครียด จากยา เชน กลุมยาคลายเครียด การออกกําลังการอยางหนัก การมีน้ําหนักลดหรือเพิ่มอยางรวดเร็ว ภาวะการไมตกไขเรื้อรัง เชน polycystic ovarian syndrome ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) การซักประวัติ - ประวัติทั่วไปของผูปวย : ชื่อ อายุ อาชีพ - ประวัติเกี่ยวกับอาการ ระยะเวลาที่ขาดประจําเดือน อาการเลือดออกกระปดกระปรอย ตกขาวผิดปกติ น้ําหนักลดหรือเพิ่ม ภาวะเครียด - อาการที่เกี่ยวของ การมองเห็น น้ํานมไหล สิว มีขนขึ้นดกผิดปกติ อาการคลื่นไสอาเจียน เวียนศีรษะ อาการรอนวูบวาบ เหงื่อออกงาย
40
History taking skill
- ประวัติทางสูตินรีเวช การตั้งครรภและการคลอด การตั้งครรภ ภาวะแทรกซอนจากการตั้งครรภ การคลอด การเสียเลือดหลังคลอด ประวัติการขูดมดลูก การติดเชื้อในอุงเชิงกราน การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ การเจริญเติบโต สวนสูง secondary sex characteristic ประวัติการตรวจภายใน และการตรวจมะเร็งปากมดลูก - ประวัติประจําเดือน ประจําเดือนครั้งสุดทาย และกอนครั้งสุดทาย ( LMP, PMP ) อายุที่มีประจําเดือนมาครั้งแรก ความสม่ําเสมอของประจําเดือน ( interval, duration ) อาการปวดประจําเดือน - ประวัติการเจ็บปวยในอดีต โรคประจําตัว โดยเฉพาะโรคตอม thyroid ผิดปกติ การใชยาและรักษา ระยะเวลาในการเจ็บปวย ยาที่ใชเปนประจํา - ประวัติครอบครัว โรคในครอบครัว โรคมะเร็ง ประวัติประจําเดือนในครอบครัว อายุที่เริ่มเปน อายุที่หมดประจําเดือน หมายเหตุ: นิสิต ควรขออนุญาตผูปวย หากการซักประวัติ ตองถามเรื่องสวนตัวมาก หรือเกี่ยวการมี เพศสัมพันธ
41
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
History 26: อาการปวดทองนอยเฉียบพลัน ในสตรี ขอควรปฏิบัติ: โจทย จะกําหนดใหนิสิตซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการปวดทองนอยเฉียบพลัน ในสตรี มีหลักการคลายกับที่กลาวไวในการซักประวัติอาการปวดทอง ทั่วไป กอนหนา แตมีจุดเนนที่ควรให ความสําคัญดังนี้ ความสําคัญ และสาเหตุที่เกี่ยวของ - พบเปนอาการนํารอยละ 12-15 ของสตรี สาเหตุ 1. โรคจากอวัยวะสืบพันธ สัมพันธกับการตั้งครรภ เชน การแทง การตั้งครรภนอกมดลูก ภาวะกอนที่รังไขที่อาจจะมีภาวะแทรกซอน เชนการบิดขั้วหรือแตก การติดเชื้อในอุงเชิงกราน ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ การเสื่อมสภาพของเนื้องอกของกลามเนื้อมดลูก 2. ปญหาภายนอกระบบสืบพันธ ไสติ่งอักเสบ ลําไสอักเสบ ทะลุ หรืออุดตัน การอักเสบ หรือการติดเชื้อของระบบทางเดินปสสาวะ โรคของหลอดเลือด หรือการติดเชื้อที่ผนังหนาทอง ทักษะการซักประวัติ ( knowledge content ) การซักประวัติ - ประวัติทั่วไปของผูปวย : ชื่อ อายุ อาชีพ - ประวัติเกี่ยวกับอาการ ตําแหนงที่ปวด อาการปวดราว ระยะเวลาที่ปวดทอง เริ่มตนเมื่อใด กิจกรรมที่ทําอยูขณะปวด ปวดทันที หรือคอยๆ ปวดมากขึ้น ลักษณะอาการปวด เชนปวดตื้อ เปนพักๆ ปวดหนวงทองนอย อาการดีขึ้น หรือแยลงเนื่องจากอะไร อาการปวดสัมพันธกับสิ่งใด เชน การกินอาหาร ทาทาง ลักษณะปกติ หรือผิดปกติของการปสสาวะ อุจจาระ - อาการที่เกี่ยวของ อาการคลื่นไสอาเจียน เวียนศีรษะ อาการตกขาวผิดปกติ อาการเลือดออกกระปดกระปรอย อาการไข - ประวัติทางสูตินรีเวช การตั้งครรภและการคลอด การตั้งครรภ ภาวะแทรกซอนจากการตั้งครรภ การคลอด การเสียเลือดหลังคลอด การติดเชื้อในอุงเชิงกราน การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ การเจริญเติบโต สวนสูง secondary sex characteristic ประวัติการตรวจภายใน และการตรวจมะเร็งปากมดลูก
42
History taking skill
- ประวัติประจําเดือน ประจําเดือนครั้งสุดทาย และกอนครั้งสุดทาย ( LMP, PMP ) อายุที่มีประจําเดือนมาครั้งแรก ความสม่ําเสมอของประจําเดือน ( interval, duration ) อาการปวดประจําเดือน - ประวัติการเจ็บปวยในอดีต โรคประจําตัว การใชยาและรักษา ระยะเวลาในการเจ็บปวย ยาที่ใชเปนประจํา - ประวัติครอบครัว โรคในครอบครัว โรคมะเร็ง หมายเหตุ: นิสิต ควรขออนุญาตผูปวย หากการซักประวัติ ตองถามเรื่องสวนตัวมาก หรือเกี่ยวการมี เพศสัมพันธ
43
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
Physical examination skill การวัดผลทักษะการตรวจรางกาย คะแนนที่นิสิตจะไดรับจะเกิดจากสองสวนคือ communication process and interview structure และ knowledge content เชนเดียวกับ History taking skill แตสัดสวน คะแนนของ communication process and interview structure จะนอยกวาคือมีประมาณ 10-15 % จาก คะแนนทั้งหมด นิสิตอาจคุนเคยกับการตรวจรางกายในการสอบ longcase เมื่อลงกองอายุรศาสตร แตการตรวจ รางกายใน longcase ดังกลาวนั้นมีลักษณะที่เรียกวา “การตรวจรางกายตามระบบ” กลาวคือไมวานิสิตซัก ประวัติไดอยางไรหรือผูปวยให chief complaint อยางไร ก็ตอ งทําการตรวจรางกายทุกระบบอยางมีระเบียบ แบบแผน ทั้งนี้เนื่องจากอาจารยผูสอบตองการดูทักษะการตรวจรางกายของนิสิตเปนหลัก แตในการสอบ ศรว 3 นั้น ตองทําการตรวจรางกายในลักษณะที่เรียกวา “การตรวจรางกายตามปญหา” หมายความวา ผูปวยให chief complaint อยางไรก็ใหตรวจรางกายตามระบบที่เกี่ยวของกับปญหานั้นกอน หากพบวาอาจมี ระบบอวัยวะอื่นเขามาเกี่ยวของจึงตรวจเพิ่มเติมโดยไมจําเปนตองตรวจใหครบทุกระบบ การตรวจรางกายใน ลักษณะดังกลาวจะสอดคลองกับการที่แพทยตรวจผูปวยจริงที่ OPD มากกวาการตรวจรางกายในแบบแรก เชน ผูปวยมาดวยอาการวิงเวียนศรีษะนิสิตอาจไมจําเปนตองตรวจทางทวารหนักผูปวยรายนั้น เวนเสียแตวาทําการ ตรวจเยื่อบุเปลือกตาแลวพบวาซีดจึงขอตรวจทวารหนักเพื่อแยกภาวะ UGIB เปนตน ทั้งนี้การสอบใน ศรว นิสิตมีเวลาจํากัดตองทําการตรวจรางกายใหแลวเสร็จพรอมการวินิจฉัยโรคที่เปนไปไดมากทีส่ ุดภายใน 5 นาที การตรวจรางกายตามระบบอยางครบถวนจะทําใหเสียเวลาและอาจไมชวยในการวินจิ ฉัยโรค สําหรับแบบประเมินการใหคะแนนการตรวจรางกายมีลักษณะดังตอไปนี้ คือ
44
Physical Examination skill
การตรวจรางกาย/การทําหัตถการที่มีผูปวยอยูดวย สถานีสอบที่ แบบประเมินการปฏิบัติ
ชื่อ...................................เลขที่สอบ............
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 Doctor-Patient Relationship 0 1. แนะนําตนเองแกผูปวย 0 2. ขออนุญาต 0 3. มีการแจง/สื่อกับผูปวยเปนระยะถึงหัตถการที่จะกระทํา 0 4. ทาทางสุภาพและตอบสนองกับปฏิกิริยาของผูปวย สวนที่ 2 ขั้นตอนในการตรวจรางกายผูปวย/ทําหัตถการ 1. 2. 3. รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร รวม 100 คะแนน เกณฑผาน
..
คะแนน ลายเซ็นผูประเมิน ............................................
45
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ทบทวนการตรวจทักษะรางกายพื้นฐาน
Medicine 1. Vital Signs : Temperature, BP, PR , RR 2. Cardiovascular system 1. ดู general appearance (edema, cyanosis, clubbing,etc.) 2. คลํา pulse o คลําครบทั้ง 4 extremities o คลํา pulse ทั้งซายและขวาไปพรอมกัน o คลํา radial และ femoral pulse พรอมกัน 3. คลํา carotid pulse o กอนคลํา carotid pulse ตองฟงหาดูวามี carotid bruits ไหม? โดยเฉพาะในผูปวยสูงอายุ o คลําทีละขาง, หามคลําพรอมกัน 4. ดู JVP o ดูในทา 30 – 45 เพื่อตรวจหาระดับของ JVP โดยเทียบระดับกับ sternal angle o ดูในทาใดก็ได เพื่อตรวจหาลักษณะและความแรงของ a และ v waves ทั้งนี้ตองแสดง ทาทางเปรียบเทียบกับ carotid pulse หรือ heart sound 5. การตรวจ precordium o ดูเพื่อสังเกตรูปรางและความผิดปกติในรูปราง หรือ impulse ที่แรงหรือผิดตําแหนง o คลําโดยวางมือขวาบนทรวงอกดานซายใตตอราวนม เพื่อหา apical impulse หรือ PMI, abnormal impulse หรือ heart sound o ตรวจตําแหนงของ apical impulse ใหแนนอนโดยใชปลายนิ้วชี้และนิ้วกลางแยงที่ตําแหนง นั้นใน ทานอนหงาย o ตรวจแบบเดียวกับ 5.3 เพื่อหาลักษณะของ apical contour วาเปน normal thrust, tap, slap, heave หรือ double apical impulse หากคลําไมไดชัดเจน ใหผูปวยนอนตะแคงไป ทางซาย (left lateral decubitus) แลวคลําดูใหม o ตรวจ RV heaving โดยวางฝามือขวาที่บริเวณ sternum ใหลําแขนตั้งฉากกับฝามือและออก แรงกดเล็กนอย o ฟงโดย stethoscope ทั้ง precordiumเริ่มที่ apex หรือ base รวมทั้งบริเวณ Lt parasternal area ฟงโดยใช bell หรือ diaphragm ตามความเหมาะสม ฟงในทาที่ผูปวยนอนตะแคงซาย ฟงในทาที่ผปู วยลุกนั่งโนมตัวไปขางหนา
46
Physical Examination skill
3. Respiratory System Inspection 1. Cyanosis ลิ้นและปลายมือปลายเทา 2. Clubbing นิ้วมือนิ้วเทา 3. Plethora, venous distension ของบริเวณใบหนาและลําคอ 4. Chest contour ใหถอดเสื้อและตรวจในทานั่งดูความผิดปกติโดยรอบ 5. Breathing movement ดู rate. depth. rhythm, equality presence of paradox. accessory muscle use Palpation 1. Lymph node คลําที่บริเวณคอและรักแร(ในกรณีสงสัยมะเร็ง) 2. Trache คลําบริเวณ supasternàl fossa โดยใหหนาตรงและคางอยูในแนวกลางใชนิ้งชี้ทั้งสองขางกับ นิ้วกลางคลําจากดานหนาหรือดานหลัง 3. Chest expansion a) Apical วางนิ้วมือบนไหปลาราใหนิ้วหัวแมมือสองขางมาชิดกันในแนวกลางขณะหายใจออก สุด b) Base ทําเหมือนกันแตกางนิ้วไปตามแนวชี่โครง ตรวจทั้งหนาและหลัง. c) Vocal fremitus วางฝามือแนบกับทรวงอกในตําแหนง เหมือนตรวจ expansion แลวให คนไขนับ 1 2 3 4. อื่นๆเชน subcutaneous emphysema Percussion 1. ดานหนาเคาะไหลจากบนไหปลาราลงมาตามชองซี่โครงเปรียบเทียบ 2 ขาง 2. ดานหลังเคาะไลจากดานบนระหวางสะบักลงมาดานลางเปรียบเทียบ 2 ขาง Auscultation 1. Breath sound ฟงเทียบกัน 2 ขาง มีการลดลงในตําแหนงใดหรือไม 2. มี abnormal bronchial breathi sounds ในตําแหนงใดหรือไม 3. ฟงวามี adventitious sounds ในตําแหนงใดหรือไม ไดแก crackles, wheezes. stridor. pleural rub. mediastinal crunch 4. Voice-generated sounds - Vocal resonance (นับ1.2.3ฟงเปรียบเทียบ 2 ขางวามีตําแหนงใดเสียงดังหรือเบากวากันหรือไม) - Whispering pectoriloquy (พูดเบาๆแลวฟง 2 ขางเปรียบเทียบกันวามีตําแหนงใดฟงไดชัดกวา หรือไม) - Egophony (ออกเสียง E ฟงไดเปน A ในตําแหนงใดหรือไม)
47
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
4. Gastroenterology 1. Observation: - general appearance including leg edema - ตา (anemia. jaundice) - oral cavity - signs of chronic liver disease (spider nevi. palmar erthrerna. gynecomastia etc.) - signs of hepatic encephalopathy(flapping fetor hepaticus) - abdominal contour and superficial dilated veins (หนาและหลัง) 2. 2.ฟง - bowel sound - (bruit or venous hum) 3. คลํา-เคาะ - light palpation (all quadrants) - deep palpation (all quadrants) - examination of liver (describe size. span liver dullness, consistency, edge surface, tender. etc.) - examination of spleen (supine and right lateral decubitus ) - bimanual palpation of kidney - examination of hernia 4. ExamInation of ascites - fluid thrill - shifting dullness 5. Rectal examination
48
Physical Examination skill
5. วิธีการตรวจ Cranial Nerve CN I -
อธิบายใหผูปวยปดรูจมูกทีละขางสูดลมหายใจเขาทางจมูกอีกขางสลับกันเพื่อตรวจสอบวารูจมูกไมอุด ตัน เลือกวัตถุที่ใชทดสอบ(เลือกกาแฟ, ยาเสน)ใหผูปวยอุดรูจมูกขางหนึ่ง ถามผูปวยวาไดกลิ่นหรือไมและ เปนกลิ่นอะไร ใหผูปวยสูดกลิ่นทางรูจมูกอีกขาง โดยมีวิธีเดียวกัน ถามวาผูปวยไดกลิ่นหรือไมและเปนกลิ่นเดียวกัน หรือไม
CN II 1. Visual acuity (Pocket near vision chart) - ถือ chart หางตาผูปวยประมาณ 14 นิ้ว - ใหผูปวยใชมือปดตาทีละขางแลวใหอานตัวเลขบน Chart ตั้งแตแถวแรก 2. Visual field (Confrontation test) - ใหผูปวยและผูตรวจหันหนาเขาหากันโดยอยูหางกันประมาณ 1 เมตร ระดับสายตาเทากัน - ตรวจ VF ทีละขางโดยใหผูปวยและผูตรวจปดตาขางที่อยูตรงขามกัน - ใหผูปวยมองที่ตาผูตรวจ - เลื่อนนิ้วมือของผูตรวจจาก peripheral field เขามาทดสอบทีละ quadrant โดยกะระยใหนิ้วมืออยู หางจากผูตรวจและผูปวยระยะเทาๆกัน 3. Fundoscopic examination - ใหผูปวยมองไปขางหนา จองมองวัตถุที่อยูไกลๆ ถาผูปวยใสแวนใหถอดออก - ผูตรวจปรับ lens ใหเหมาะสม ถาผูตรวจใสแวนใหถอดกอน* ถาผูตรวจใสแวนใหบันทึกดวย - แนบ ophthalmoscope เขากับกระบอกตาแลวตรวจตาผูปวยขางเดียวกันถือ ophthalmoscope ดวย มือขางเดียวกับตาที่ใช ใหนิ้วชี้อยูที่ disk ปรับ refraction และนิ้วกลางแตะใบหนาผูปวย ดู potic fundi ใหทั่วโดยเปลี่ยนมุมมอง* ถาผูสอบทําสิ่งตอไปนี้ใหบันทึกไวดวย(ไมเหมาะสม) - ผูตรวจปดตาผูปวย โดยที่ผูปวยไมไดมีหนังตาตก* - -ผูตรวจวางมือบนศีรษะของผูปวย* CN III. IV. VI 1. Exophthalmos - สังเกต exophthalmos โดยการมองจากดานบนของศีรษะผูปวยแลวเปรียเทียบกัน 2. Puplliary - ใหผูปวยมองตรง เปรียบเทียบขนาด pupil สองไฟฉายขางทางดานขาง - สังเกต direct reflex ของตาขาวนั้น และ consensual reflex ของตาอีกขาง 3. Extraocular movement - ใหผูปวยมองตามวัตถุไปทิศทางตางๆ: ซาย ขวา บน ลาง โดยแตละทิศทางใหผูปวยมองคางนิ่งในทิศ นั้นอยานอย 5 วินาที 49
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
4. Ptosis - สังเกตเปรียบเทียบระดับหนังตา 2 ขางแลวบอกผลที่เห็น 5.Accommodation - ใหผูปวยมองตามวัตถุที่เลื่อนเขาหาผูปวยในแนวกลาง: สังเกต convergence และ miosis CN V 1. Motors 1.1 Temporalis muscle - สังเกต temporal fossa 2 ขางเพื่อดูวามี muscle atrophy หรือไม - ใหผูปวยอาปากแลวกัดกรามโดยผูตรวจใชมือคลําบนกลามเนื้อเปรียบเทียบกัน 2 ขาง 1.2 Masseter muscle - สังเกตบริเวณ mandible 2 ขาง เพื่อดูวามี muscle atrophy หรือไม - ใหผูปวยอาปากแลวกัดกราม โดยผูตรวจใชมือคลําบนกลามเนื้อเปรียบเทียบกัน 2 ขาง 1.3 Latefal pterygoid muscle - ใหผูปวยอาปากและหุบปากหลายๆครั้งเพื่อดูวามี jaw deviation ไปดานที่ออนแรงหรือไม - ใหผูปวยอาปาก โดยผูตรวจพยายามดันคางไว ใชมือหนึ่งวางบนศีรษะผูปวยโดยตองขอโทษกอน เสมอ - ใหผูปวยโยคางไปดานขางทีละดานโดยผูตรวจพยายามตานแรงไว 2 Facial sensation 2.1 skin sensation - ผูตรวจทดสอบความรูสึกดวย เข็มและสําลีที่บริเวณหนาผาก(V1) แกม(V2) และคาง(V3) เปรียบเทียบ กัน 2 ขาง 2.2 corneal reflex วิธีการตรวจ - อธิบายวัตถุประสงคและวิธีการตรวจ - ผูตรวจใชสําลีปนปลายใหแหลม แตะที่ cornea อาจตองใหผูปวยมอง upward, medial 3. Jaw jerk - ใหผูปวยอาปากหยอนเล็กนอย ผูตรวจวางนิ้วชี้ลงบนคางผูปวย โดยใชไมเคาะ reflex เคาะลงทางดาน ลาง
50
Physical Examination skill
6. Motor Function 1. Observe : มองหา abnormal movement muscle wasting. fasciculation. กระตุนใหเกิด fasciculation โดย เคาะลงบนกลามเนื้อ 2. Pronator drift : ใหเหยียดแขนตรงยื่นมาขางหนาระดับไหล forearm flexion และ pronation. finger flexion แลวลอง ตบบนมือ 2 ขางเร็วๆดู rebound 3. Muscle tone ใหผูปวยนั่งตามสสบายไมเกร็ง ทํา passive movement ของ joint ตางๆ - Shoulder joint มือหนึ่งจับใหลอีกมือหนึ่งจับบริเวณ forearm ขยับตนแขนไปขางหนา-ขางหลังหมุนรอบขอไหล - -Elbow joint ใชมือหนึ่งจับไหล อีกมือหนึ่งจับทา shake hand ใหงอ-เหยียดศอก - Radio-ulnar joint ใชทาเดิมใหคว่ํามือ-หงายมือ - -Wrist joint มือหนึ่งจับ forearm อีกมือจับทา shake hand กระดกมือขึ้น-ลง. 4. ตรวจ power ทีละแขนเปรียบเทียบกัน - deltoid ตรวจพรอมกันทั้งสองขาง - biceps - triceps - brachioradialis - pronator - supinator - wrist flexion - -wrist extension - hand grip (ตรวจพรอมกันทั้ง 2 ขาง) - -finger extension - finger abduction (ตรวจพรอมกันทั้ง 2 ขาง) - finger adduction - opponens 5. Deep tendon reflex - Biceps ผูปวยงอแขนพอประมาณ ใชนิ้ววางบน biceps tendon เคาะบนนิ้ว - -Triceps ผูปวยงอแขนพอประมาณ เคาะบน triceps tendon (2” เหนือศอก) - Brachioradialis เคาะบน brachioradialis tendon (2 ” เหนือขอมือ) - Finger วางนิ้วบนมือของผูปวยระดับ PIP joint เคาะบนนิ้วมือผูตรวจ 6.ตรวจ Hoffmann หรือ Trommer sign ทีละมือ - จับมือผูปวยให extend wrist MCP. PIP joint ของนิ้วกลางดีด distal phalanx ลงหรือขึ้นเร็วๆดู palmar flexion ของนิ้วอื่นๆโดยเฉพาะนิ้วหัวแมมือ
51
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ขา ตรวจในทานอน 1. Observatlon ควรถลกขากางเกง มองหา wasting. fasciculation etc. 2.Muscle tone ใหผูปวยนอนตามสบายไมเกร็ง - roll วางมือบนตนขาผูปวยแลวexternal และ internal rotate ตนขา สังเกตดู movement ของปลายขา - lift สอดมือ 2 ขางใตเขาทีละขางจับยกเขาขึ้นมาเร็วๆ สังเกตmovement ของปลายขา 3.ตรวจ power ทีละขา - hip flexion - hip extension - hip abduction - knee flexion - knee extension - ankle dorsiflexion - ankle plantar flexion - -eversion - inversion - toe dorsiflexion - toe flexion 4. ตรวจ deep tendon reflex ทีละขา - Knee สอดแขนซายพยุงใตเขาของผูปวยใหอยูในทา flex เคาะบน patellar tendon - -Ankle ใหผูปวยงอสะโพกและเขาพรอมทั้งทํา external rotation ใชมือซายแตะฝาเทาผูปวยเพื่อทํา dorsiflexion เลกนอยเคาะบน Archiles tendon 5.ตรวจ plantar reflex ขีดฝาเทาไปตาม lateral aspect ของฝาเทาจนถึงใตนิ้วหัวแมเทา 6. ตรวจ ankle clonus มือหนึ่งจับเหนือขอเทา อีกมือดันฝาเทาเพื่อทํา dorsiflexion เร็วๆ 7. ตรวจ gait
52
Physical Examination skill
7. Deep Tendon Reflex ในทานอน • การแนะนําผูปวย o ขอใบอนุญาตและบอกวาจะตรวจอะไร o บอกผูปวยใหนอนราบตามสบายไมตองเกร็ง • Bicetp jerk o -จัดทาใหผูปวยวางตนแขนบนที่นอนปลายแขนและมือวางบนหนาทองในทา pronation o -ผูตรวจวางนิ้วหัวแมมือหรือนิ้วชี้ลงบน biceps tendon • Brahiosradialis jerk o -จัดทาใหผูปวยวางตนแขนบนที่นอนปลายแขนและมือวางบนหนาทองในทา pronation o -ใชไมเคาะ เคาะ ปลายลางของกระดูก radius ที่ตําแหนงประมาณ 2 นิ้วเหนือขอมือ • Triceps jerk o -จัดทาใหแขนของผูปวยวางบนลําตัว o -ใชไมเคาะ เคาะ triceps ใชไมเคาะที่ตําแหนงประมาณ 2” เหนือขอศอก • Finger jerk o -ใหผูปวย supinate แบมือและปลอยใหนิ้วมืองอตามสบาย o -ผูตรวจวางมือบนนิ้วผูปวย ใชไมเคาะเคาะบนนิ้วผูตรวจ • Knee jerk o -ผูตรวจใชแขนขางซายสอดและพยุงใตเขาของผูปวยซึ่งอยูในทา flexion เล็กนอย o -ใชไมเคาะ เคาะ pateliar tendon • Ankle jerk o -จัดทาใหผูปวยงอสะโพกและเขาพรอมทั้งทํา externa; rotation o -ผูตรวจใชมือขางซายแตะที่ฝาเทาของผูปวยเพื่อ dorsiflex ขอเทาเล็กนอย o -ใชไมเคาะ เคาะที่ Archilles tendon • การใชไมเคาะรีเฟล็กซ(ประเมินรวม) o -การจับไมเคาะ o -ใชขอมือเหวี่ยงไมเคาะโดยการใชน้ําหนักของไมเคาะเปนการกําหนดความแรงของการเคาะ
53
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
8. Cerebellar Function 1. Nystagmus ใหผูปวยกลอกตาไปมาทางซาย-ขวา, บน-ลาง 2. Tone ของกลามเนื้อ - shoulder joint - elbow joint - radlo—ulnar joint - wrist joint 3. Co-ordination ของแขน(วิธีใดวิธีหนึ่ง) - Finge-to-finger ใหผูปวยหลับตากางแขนแลวใหเอานิ้วชี้ทั้ง 2 ขางมาแตะกันตรงกลาง - Finger-to-nose ใหผูปวยหลับตากางแขนแลวใหเอานิ้วชี้มาแตะปลายจมูกตนเอง - Finger-to-nose-to-finger ใหผูปวยลืมตาเอานิ้วแตะนิ้วชี้ผูตรวจแลวกลับไปแตะปลายจมูกผูปวยเอง 4. Co-ordination ของขา Heel-to-knee ใหผูปวยกสนเทาขึ้นวางบนหัวเขาดานตรงขามแลวไถสนเทาไปตามสันหนาแขง 5. Alternate movement ของแขน(วิธีใดวิธีหนึ่ง) - ใหผูปวยใชปลายนิ้วชี้แตะปลายนิ้วหัวแมมืออยางเร็วหรือแตะทุนิ้วเรียงกันไปอยางเร็วพรอมกัน 2 มือ - .ใชมือขางหนึ่งตบคว่ํา-หงายบนมืออีกขางหนึ่งหรือเขาของตนเองเปนจังหวะ 6. Alternate movement ของขา ใหผูปวยตบปลายเทาลงบนพื้น(ทานั่ง)หรือมือของผูปวยตรวจ(ทานอน)เปนจังหวะ 7. Tandem walking ใหผูปวยเดินตอเทาเปนเสนตรงโดยผูตรวจตองระวังไมใหผูปวยหกลม
54
Physical Examination skill
9.Sign of Meningeal Irrigation 1.Stiff neck(nuchal rigidity)
-
บอกผูปวยวาตรวจอะไรและขออนุญาต ใชมือสอดใตศีรษะผูปวยบริเวณทายทอยและคอยๆยกศีรษะใหคางแตะกับอก ใชมือจับศีรษะของผูปวยหันไปทางซาย-ขวา จับไหล 2 ขางของผูปวยยกขึ้น โดยไมตองยกศีรษะตามสังเกตวาคอหงายไปดานหลังไกหรือไม แปลผล Positive เมื่อเจ็บตึงตนคอ ดานหลัง หรือ กลามเนื้อ Extensor ของคอเกร็ง กมหรือเงยไมได 2.Kernig’s Sign
-
บอกผูปวยวาตรวจอะไรและขออนุญาต งอสะโพกและขอเขาของผูปวยทีละชางใหทํามุมประมาณ 90o คอยๆเหยียดขอเขาของผูปวยจนตึง แปลผล Positive เมื่อ ยึดเขาทั้ง 2 ขาง ไดไมเต็มที่(หรือนอยกวา 135 o)หรือเจ็บตึงกลามเนื้อ Hamstring ทั้ง 2 ขาง
10.Vibration and Position Sensation (Lower Extremities) การตรวจ Vibration sensation 1.พฤติกรรมทั่วไป
-
เลือกสอมเสียงขนาดความถี่ 128 Hz จับสอมเสียงที่ดาม อธิบายใหผูปวยทราบวาความรูสึกจากสอมเปนอยางไร(เชนเอาโคนสอมเสียงที่ทําใหสั่นแตะที่กระดูก sternum หรือ clavicle ของผูปวย) 2.การตรวจ Vibratory ของขอเทา
-
ใหผูปวยหลับตาและใชโคนสอมเสียงที่ทําใหสั่นแตะที่ดานหลังของกระดูกนิ้วหัวแมเทา โดยใหผูปวยบอกวาสั่นหรือไม หยุดสั่นเมื่อใดเปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง ทดสอบวาคําตอบของผูปวยเชื่อถือไดหรือไม โดยทําใหสอมเสียงสั่งและหยุดสั่นสลับกันอยางสุมเปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง)
การตรวจ position sensation พฤติกรรมทั่วไป
-
อธิบายวิธีตรวจใหผูปวยเขาใจกอน ใชนิ้วมือจับดานขางกระดูก proximal phalanx ของนิ้วหัวแมเทาใหแนน และใหนัวมืออีกขางหนึ่งจับที่ดานขางกระดูก distal phalanx นิ้วนั้นคอยๆ extend หรือ reflex ขอนิ้วเทาทีละนอยแบบสุมโดใหผูปวยบอกวาปลายนิ้วเทาเคลื่อนขึ้น หรือลง ทดสอบดังกลาวหลายๆครั้งเปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง
55
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
PE 1: อาการปวดทอง แนนทอง ทองอืด Setting: ผูปวยชายไทยอายุ 40 ป มีอาการปวดจุกแนนลิ้นปเปนๆ หายๆ มา 3เดือน ครั้งนี้ปวดจุกแนนที่ทอง ดานขวาบนมาก และมีไขมา 3 วัน จงแสดงการตรวจรางกายผูปวยรายนี้ พรอมทั้งใหการวินิจฉัย ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวกับผูปวยและขออนุญาตวาจะตรวจทอง พรอมทั้งให คําอธิบายในแตละขั้นตอนที่จะตรวจ II. Knowledge content : - เริ่มจากการตรวจ conjunctivae ดูวาไมมีภาวะซีดและตาตัวเหลือง - แสดงทาการตรวจดวยการดูทองโดยตองเปดเสื้อขึ้นมาถึงลิ้นปและดึงกางเกงลงถึงระดับขาหนีบหรือ upper thigh (ควรใชผาคลุมที่ขาทั้งสองขางของผูปวยดวย) - รายงานการตรวจวา shape of abdomen?, no surgical scar, no visible peristalsis, no superficial vein dilatation, no abnormal bulging - ฟง bowel sound โดยฟงใหครบทั้งสี่ Quadrant ***อาจารยจะถามเองวาตองฟงนานเทาไร (ตอบ อยางนอย 1 นาที) - คลําทองโดยตองถามผูปวยกอนวาเจ็บตรงไหน ***ตองเลี่ยงไปคลําบริเวณที่ไมเจ็บกอนคลําบริเวณ ที่เจ็บเปนที่สุดทายและเริ่มคลํา light palpation กอนหลังจากนั้นคลํา deep palpation และแสดงการคลําตับ มาม โดยไลคลําจาก groin ขึ้นมาเรื่อยๆตามการหายใจ - ตรวจเพิ่มเติมโดยการทํา Murphy’s signมีสองวิธี (เลือกตรวจวิธีเดียว) คือ I. ใชนิ้วหัวแมมือขางซายวางบนตําแหนง gall bladder (RUQ) ขณะที่ผูปวย หายใจออกและ สังเกตวาขณะผูปวยหายใจเขา gall bladder จะมาชนนิ้วหัวแมมือ ผูปวย จะเจ็บและหายใจสะดุด II. ใชฝามือขวาคลําบริเวณ gall bladder ขณะที่ผูปวย หายใจออกและสังเกตวาขณะผูปวย หายใจเขา gall bladder จะมาชนฝามือผูปวยจะเจ็บและหายใจสะดุด - เคาะทองทั่วๆทองฟงเสียงโปรงหรือทึบผิดปกติเลี่ยงไปเคาะตําแหนงที่ไมเจ็บกอน+ เคาะหา liver span - รายงานผลการตรวจทั้งหมดตามลําดับขั้น III. การวินิจฉัย : วินิจฉัยโรคใหตอบโรคเดียว Acute cholecystitis (30คะแนน) Acute cholangitis (10 คะแนน), Liver abscess (10 คะแนน)
56
Physical Examination skill
PE 2: ปวดทองเฉียบพลัน Setting: ผูปวยชาย อายุ 20 ป มาตรวจปวดทองนอยดานขวา 2 วัน จงแสดงการตรวจรางกาย ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวเอง สอบถามชื่อ ทักทายผูปวย และขออนุญาติอยางสุภาพ แจง/ สื่อสารกับผูปวยเปนระยะ ตรวจรางกายผูปวยอยางนุมนวล II. Knowledge content : - general appearance of abdomen : Scar , Visible peristalsis - auscultation : Bowel sound , Abdominal Bruit - palpation : ถามวาเจ็บตรงไหนที่สุด ใหคลําสวนอื่นกอนโดยคลํา light palpation ทั่วๆเพื่อดู clinical sign ของ peritonitis พรอมสังเกตุ Guarding ถามีใหผูปวยงอขาเพื่อแยกวาเปน Voluntary guarding หรือไม หลังจากนั้นจึงทํา Deep palpation เพื่อหาความผิดปกติใน intra abdomen จากนั้น ใหทําการตรวจ Sign เฉพาะกรณี RLQ pain - McBurney point - Psoas sign - Obturator sign - rebound tenderness - Rovsing sign - Digital rectal examination ผลการตรวจรางกาย : RLQ pain with positive of Psoas sign Obturator sign rebound tenderness Rovsing sign III. การวินิจฉัยโรค : Acute appendicitis ( 10คะแนน )
57
คูมือการซักประวัตติ ตรวจรางกาย และะการสื่อสารทางการแ รแพทย เพื่อการสอบบวิชาชีพเวชกรรม
PE 3: การมองเห็นไม น ชัด ตาบอด Settinng: ผูปวยหญิงไทยคู ง อายุ 40 ป ภูมิลําเนากกทม.มาพบแพททยดวยอาการตามองไมชัดมมาประมาณ 4 เดื เ อน ผลการรตรวจตาพบวา VA 20/20 ผลการตรวจทา ผ งระบบประสาททพบวา EOM full จงแสดดงการตรวจ Visual 1. V Field ในนผูปวยรายนี้ 22. จงอธิบายสิ บ ่งที่ตรวจพ พบ 33. จงใหคํคาอธิบายถึงพยาธิสภาพที่เปปนสาเหตุ
ง ทักษะะการตรวจรางกาย I.. Communicaation process : แนะนําตัวเอง สอบถามชืชื่อและทักทายผผูปวยอยางสุภภาพกอนตรวจรัรักษา ซักถามผูปวยอยางเปนมิตรตลลอดการตรวจ อธิบายและตรรวจรางกายผูปวยอย ว างนุมนววล III. Knowledgee content : A. การตรวจเบื้องตนโดดยเปดตาทั้งสสองขาง 1. ใหผูปวยมองงตาผูปวยตรงๆๆขณะทําการตตรวจ 2 ยื่นแขนออกไไปทั้งสองขางพพรอมกัน 3 ยื่นแขนออกไไปดานขางในระะดับสายตา 4 สุมตรวจวาผูปป วยมองเห็นนิ้ว มือของแขนขขางใดขยับ 5 ขยับนิ้วมือเพือทดสอบทํ ่ าซ้ํา้ วาผูปวยมองเห็นหรือไม ขางละ า 2-3 ครั้ง 6 ทดสอบการมมองเห็นโดยเคลืลื่อนจากดานนอกสุดแขนเขามาตรงกลาง 7 ทําการทดสอบทั้ง 2 ตาแบบบเดียวกัน 8 ใหผูปวยมองตรงตลอดเวลาาไมใหหันตามกการตรวจ 9 ทําการทดสอบทั้ง 4 quadraant B. การตรวจโดยปดตาท ทีละขาง 1 ใหผูปวยปดตาให ต สนิททีละขขาง 2 ปดตาของผูตรวจดานตรงขา มกับผูปวย 3 ใหผูปวยมองตาผูปวยตรงๆๆขณะทําการตรรวจ 4 ยื่นแขนออกไไปจนสุดแขนที ละขาง 5 ถามผูปวยวานิ้วดานใดขยับ 6 ขยับนิ้วมือเพือทดสอบทํ ่ าซ้ํา้ วาผูปวยมองเห็นหรือไม ขางละ า 2-3 ครั้ง 7 ทําการทดสอบทั้ง 2 ตาแบบบเดียวกัน 8 ใหผูปวยมองตรงตลอดเวลาาไมใหหันตามกการตรวจ 9 ทําการทดสอบทั้ง 4 quadraant III. กาารอธิบายควาามผิดปกติที่ตรวจพบวา : พพบความผิดปกกติของลานสายตาแบบ bitemmperal hemiannopia (10 คะแนน) และเกิดจากพยาธิ ด สภาพที ภ ่บริเวณ ooptic chiasm (10 คะแนนน) 58
Physical Examination skill
PE 4: เลือดออกผิดปกติ เลือดออกตามไรฟน Setting: หญิงอายุ 30 ป มีจา้ํ เลือดขึ้นตามแขนขาและลําตัว พรอมกับมีเลือดออกตามไรฟนมาประมาณ 1 เดือน เดือนที่แลวประจําเดือนออกมากแตก็หยุดไดเอง ไมมีถายดําหรือเลือดออกที่อื่น ไมเคยกินยาอะไร เปนประจํา 1.แสดงพรอมทั้งอธิบายการตรวจรางกายเพื่อวินิจฉัยสาเหตุของภาวะเลือดออกผิดปกติในผูปว ยรายนี้ 2.บอกผลการตรวจพบที่สําคัญ 3.บอกการวินิจฉัยโรคที่นาจะเปนไปไดมากทีส่ ุดมา 1 โรค ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : 1 ทักทายแนะนําตนเองและขออนุญาตผูปวยเพื่อตรวจรางกาย 2 Exposure บริเวณหนาทอง ใหเหมาะสม (ดานบนเปดเสื้อขึ้นไปถึงระดับใตราวนมดานลางใชผาคลุมถึงระดับหัวหนา วเปนอยางนอย) 3 มีการแจง/สื่อสารกับผูปวยเปนระยะๆ ขณะทําการตรวจ 4 ตรวจดวยความนุมนวล สุภาพ ตอบสนองตอปฏิกิริยาของผูปวย II. Knowledge content : A.ขั้นตอนการตรวจ 1 ตรวจวาซีดหรือไม 2 ตรวจผิวหนังดูจ้ําเลือด/ตรวจชองปากดูวายังมีเลือดออกหรือไม 3 คลําตรวจตอมน้ําเหลืองวาโตหรือไม ( cervical, axillary, inguinal LN) 4 ตรวจหนาทอง 4.1 ตรวจตับวาโตหรือไม (คลําและเคาะ liver span) 4.2 ตรวจมามวาโตหรือไม (คลําทั้งทานอนหงายและตะแคงขวาและ splenic dullness) B. ผลการตรวจรางกาย 1 Superficial ecchymosis at extremities 2 No anemia, no lymphadenopathy, no hepatosplenomegaly III. การวินิจฉัยโรค : Idiopathic or autoimmune thrombocytopenic purpura ( ITP หรือ ATP) 10 คะแนน Thrombocytopenia 5 คะแนน
59
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
PE 5: กลามเนื้อออนแรง Setting: ผูปวยชายอายุ 35 ปมาโรงพยาบาล ดวยอาการแขนขาออนแรง1 วันกอนมาโรงพยาบาล ผูปวยเคย มีอาการแขนและขาออนแรงเชนนี้เมื่อ 5 ปกอน เปนอยู 1 วันก็หายไปไดเอง จงตรวจรางกาย บอกผลการตรวจที่พบ ใหการวินิจฉัยโรค ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวเอง สอบถามชื่อ ทักทายผูปวย และขออนุญาติอยางสุภาพ แจง/ สื่อสารกับผูปวยเปนระยะ ตรวจรางกายผูปวยอยางนุมนวล II. Knowledge content : A. ขั้นตอนการตรวจตามปญหา A. Muscle tone Upper extremities : elbow , wrist Lower extremities : knee , ankle B. Power Pronator drip Motor Upper - Shoulder adduction/abduction - Elbow flex/extension - Wrist flex/extension - Hand grip Motor Lower - Hip flex/extension - Hip Adduction/Abduduction - Knee flex/extension - Ankle flex/extension C. Sensory D. Reflex E. Neck muscle power F. Thyroid gland G. Heart pulse H. Cranial nerves B. ผลการตรวจรางกาย : proximal mucle weakness III. การวินิจฉัยโรค : periodic paralysis
60
Physical Examination skill
PE 6: ชา กลามเนื้อกระตุก Setting: ผูปวยหญิงอายุ 40 ป แพทยนัดมาผาตัดตอม Thyroid ที่มีขนาดใหญมาก หลังผาตัดรูสึกชาบริเวณ ปลายมือและมีอาการกระตุกที่หนาและแขนเปนชวงๆ จงตรวจรางกายเพื่อหาสาเหตุ ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวเอง สอบถามชื่อ ทักทายผูปวย และขออนุญาติอยางสุภาพ แจง/ สื่อสารกับผูปวยเปนระยะ ตรวจรางกายผูปวยอยางนุมนวล II. Knowledge content :
A. การตรวจ Trousseau B. การตรวจ Chvostek C. Motor power D. Cranial nerves F. Sensory and Reflex ผลการตรวจรางกาย : Trousseau gr.V Chvostek gr.III III. การวินิจฉัยโรค : Hypocalcemia ( 10คะแนน ) จากภาวะขาด Parathyroid ( 1Oคะแนน) จากการผาตัด มี Injury ตอ Parathyroid gland ที่อยูขางเคียง ( 10 คะแนน )
61
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
PE 7: กอนที่คอ Setting: ผูปวยหญิงอายุ 40 ป มาดวยมีกอนที่คอ มีอาการใจสั่น น้ําหนักลด จงตรวจรางกายเพื่อการ วินิจฉัยโรค ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวเอง สอบถามชื่อ ทักทายผูปวย และขออนุญาติอยางสุภาพ แจง/ สื่อสารกับผูปวยเปนระยะ ตรวจรางกายผูปวยอยางนุมนวล II. Knowledge content :
A. การตรวจ Thyroid Gland โดยละเอียด(อานเพิ่มในทักษะการตรวจรางกาย) ผูตรวจ ตองสั่งใหผูปวยกลืนน้ําลายและสังเกตุการเคลื่อนของกอนดวย B. ตรวจระบบที่เกี่ยวของ – lid lag , lid retraction , pulse 4 extriemities , pulse deficit(AF) , Moise skin , Pretibial edema , bowel sound , muscle power & tone , nail(clupping of finger) , Hair (ผมบาง ขนรวงงาย) ผลการตรวจรางกาย : Trousseau gr.V Chvostek gr.III III. การวินิจฉัยโรค : Hyperthyroidism ( 10คะแนน )
62
Physical Examination skill
PE 8: หูไมไดยิน Setting: ผูปวยชายอายุ 60 ป หูไมไดยินขางเดียว 1 วันกอนมาโรงพยาบาล ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวเอง สอบถามชื่อ ทักทายผูปวย และขออนุญาติอยางสุภาพ แจง/ สื่อสารกับผูปวยเปนระยะ ตรวจรางกายผูปวยอยางนุมนวล II. Knowledge content :
A. การตรวจ CN VIII - Whisper technique เพื่อทดสอบการไดยินของหูทั้งสองขาง - ทํา Rinne test โดยวางสอมเสียงหางจากหนาหูผูปวยประมาณ 1 นิ้ว และวาง โคนสอมเสียงที่บริเวณ mastoid ถามผูปวยวาไดยินหนาหูหรือหลังหูดังกวากัน - ทํา Weber test วางโคนสอมเสียงที่บริเวณหนาผาก หรือปลายคาง ถาม ผูปวยวาดังในทาง ไหนมากกวากัน หรือดังตรงกลาง - ทํา Bing test วางโคนสอมเสียงที่บริเวณ mastoid ผูปวย และปดหูถามผูปวย วาเปดหูหรือ ปดหูดังกวากัน ทําทั้งซายและขวา - ทํา Schwabach test วางโคนสอมเสียงที่ mastoid ผูตรวจพอหมดเสียงแลวไปวางที่ mastoid ผูปวยถามผูปว ยวาไดยินหรือไม วางโคนสอมเสียงที่ mastoid ของผูปวย ถามผูปวยวาหมดเสียงหรือยัง ถาหมดเสียงแลวมาวางที่ mastoid ของผูตรวจ B. ใช Otoscope ตรวจหูทั้งสองขาง C. Cranial nerve ที่เกี่ยวของ – CN VII , IX , X เนื่องจากตําแหนงของนิวเคลียสอยูใกล กัน ผลการตรวจรางกาย : Conductive defect III. การวินิจฉัยโรค : Impact Cerumen / Foreign body in ear canal ( 10คะแนน )
63
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
PE 9: อาการบวม Setting: ผูปวยหญิงอายุ 45 ป ขาบวมขาขวา 1 สัปดาหกอนมาโรงพยาบาล จงตรวจรางกายเพื่อหาสาเหตุ ของโรค ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวเอง สอบถามชื่อ ทักทายผูปวย และขออนุญาติอยางสุภาพ แจง/ สื่อสารกับผูปวยเปนระยะ ตรวจรางกายผูปวยอยางนุมนวล II. Knowledge content :
A. กดตําแหนงที่บวมวาบุมหรือไม B. ดู severity และ extension ของโรควาบวมถึงระดับใด C. ตรวจเพื่อ rule out DVT อานรายละเอียดในทบทวนการตรวจรางกาย D. ตรวจระบบที่เกี่ยวของ - ทอง คลํากอนใน lower abdomen lymphnode บริเวณขาหนีบทั้งสองขาง E. ตรวจระบบอื่นๆเพื่อหา associate malignancy เชน pale conjunctiva, liver&spleen, LN, Lungs, Breast ตลอดจนขอตรวจ PR & PV ถาจําเปน ผลการตรวจรางกาย : non pitting edema Rt leg with Homan’s sign positive III. การวินิจฉัยโรค : DVT Rt leg ( 10คะแนน ) PE IX เตานม Setting: ผูปวยหญิงไทย อายุ 60 ป มาตรวจดวยคลําไดกอนที่เตานมมา 2 เดือน จงอธิบายและแสดงขั้นตอนการตรวจเตานม รวมทั้งบอกผลการตรวจ ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวเอง สอบถามชื่อ ทักทายผูปวย และขออนุญาติอยางสุภาพ แจง/ สื่อสารกับผูปวยเปนระยะ ตรวจรางกายผูปวยอยางนุมนวล
การจัดสถานที่และการจัดทาผูปวย - บอกวาตรวจในสถานที่มดิ ชิด - ขอบุคคลที่สาม - จัดทานั่งเพื่อตรวจ axilla - จัดทาผูปวยนอนราบ หงาย แขนและมือผูปวยขางทีจ่ ะตรวจอยูหลังศรีษะ II. Knowledge content : - ตรวจเตานมทั้งสองขาง โดยใชฝามือขางที่ถนัด - ใชสวนกลางนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางในการตรวจ - ตรวจครบทั้ง 4 quadrant - บีบดู nipple discharge - ตรวจ axilla ทั้งสองขาง - คลํา supraclavicular lymph node ผลการตรวจรางกาย : Breast Mass III. การวินิจฉัยโรค : Breast Mass ( 10คะแนน )
64
Physical Examination skill
PE 10: มือสั่น Setting: ผูปวยชาย อายุ 60 ป มาตรวจเนื่องจาก ทํางานชาลง รวมกับมือทั้งสองขางสั่น ทํางานไดลําบาก ทักษะการตรวจรางกาย I. Communication process : แนะนําตัวเอง สอบถามชื่อ ทักทายผูปวย และขออนุญาติอยางสุภาพ แจง/ สื่อสารกับผูปวยเปนระยะ ตรวจรางกายผูปวยอยางนุมนวล II. Knowledge content : - สังเกตอาการสั่นของมือขณะพัก (ดู rest tremor) - สังเกตอาการสั่นของมือขณะเหยียดแขนไปดานหนาคางไว (ดู postural tremor) - ตรวจ clinical sign ของ Parkinson’s disease ไดแก o Rigidity (muscle tone) o Bradykinesia (ตรวจ finger tap) o Postural instability ( pull test – ใหผูปวยยืนแลวผลักผูปวยมาดานหลัง) o Gait abnormality : shuffling gait, festinating gait, en bloc turn - สังเกตลักษณะอื่นๆของ essential tremor ไดแก head tremor, voice tremor - ตรวจ clinical sign ของ hyperthyroidism ไดแก ตรวจ thyroid gland, Pulse rate, Lid lag, lid retraction, exophthalmos - ตรวจ cerebellar sign อื่นๆ ไดแก finger to nose test, dysdiadochokinesia, nystagmus ผลการตรวจรางกาย : Bradykinesia, Rest tremor, Rigidity, Postural instability III. การวินิจฉัยโรค : parkinsonism ( 10คะแนน )
65
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
PE 11: ความผิดปกติในนรีเวชวิทยา 11.1 ภาวะเลือดออกผิดปกติทางชองคลอด การตรวจรางกาย - ตรวจรางกายทั่วไปทุกระบบ รวมทั้งจ้ําเลือดตามตัว - ตรวจภายใน แยกใหไดวาเลือดออกจากอวัยวะสืบพันธภายนอก หรือจากโพรงมดลูก แยกความผอดปกติ อื่นๆ เชน เนื้องอก หรือมะเร็งมดลูก 11.2 ภาวะตกขาวผิดปกติทางชองคลอด ( Abnormal leukorrhea ) การตรวจรางกาย - ตรวจรางกายทั่วไป - ตรวจภายในตั้งแตอวัยวะเพศภายนอก ทอปสสาวะ ดูภายในชองคลอด สังเกตุลักษณะของเยื่อบุชองคลอด และลักษณะของปากมดลูก หมายเหตุ สําหรับการสอบ เพื่อประกอบวิชาชีพเวชกรรมขั้นตอนที่ 3 นี้ การตรวจดังกลาว จะ ทํากับหุน และอาจรวมไวในหมวดหัตถการแทน ซึ่งให นิสิต ไปทบทวน เนื้อหาในหนังสือหัตถการทาง นรีเวชเพิ่มเติม
66
Communication skill
หมวดทักษะการสื่อสาร Communication skills บทนํา ทักษะการสื่อสารที่ใชสอบเพื่อประเมินผลขั้นตอนที่ 3 นี้ ประกอบดวย 1.การสื่อสารดวยวาจา ไดแก การใหคําแนะนําลักษณะการใหกําลังใจ การแจงขาวราย การใหขอมูล ผูปวยเพื่อขอการทําหัตถการ และ การใหคําแนะนํา-สาธิตเกี่ยวกับการใชยา หรือการปฎิบัติตัวเฉพาะโรค 2.การสื่อสารดวยเอกสารทางการแพทย ไดแก การเขียนในรับรองแพทย การเขียนใบ refer การ ลงบันทึกบาดแผล และการใหความเห็นทางการแพทย ซึ่งการสื่อสารในลักษณะดังกลาวนี้ ขอใหนิสิตไป ทบทวนเนื้อหาทางนิติเวชวิทยาประกอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งการบันทึกบาดแผล และการใหความเห็นกรณี กระทําชําเรา องคประกอบในการวัดผลจะประกอบดวย communication process และ knowledge content เชนเดียวกันกับการซักประวัติและตรวจรางกาย โดยสัดสวน communication process จะประมาณ 10-20% ของคะแนนทั้งหมด ขอแตกตางจากการซักประวัติและตรวจรางกายคือ ผูปวยจําลองจะมีบทใหแสดงความรูสึก ทางอารมณ เชน เสียใจมาก รองไห โกรธ หรือโวยวาย ซึ่งนิสิตตองควบคุมสติเมื่อตกอยูในสถานการณ ดังกลาว แบบประเมินการวัดผลทางทักษะสื่อสารมีลักษณะดังนี้ คือ
67
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
การใหขอมูล / คําแนะนําแกผูปวย แบบประเมินการปฏิบัติ
สถานีสอบที่...................... ชื่อ...................................เลขที่สอบ..........
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 ทักษะในการใหขอมูล / ใหคําแนะนํา 0 1. แนะนําตนเองแกผูปวย 0 2. แจงวัตถุประสงค 0 3. สํารวจความรูเดิมของผูปวยในเรื่องที่จะใหขอมูล/ใหคําแนะนํา ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 4. แกไขขอมูลที่ผิด ใหขอมูล / ความรูเพิ่มเติม (กรณีมีผปู วยจําลอง และมีบทผูปวย) 0 5. ใหผูปวย ทวน และ หรือ สรุป ขอมูล / คําแนะนําที่แจงใหฟง ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 6. เปดโอกาสใหผูปวยซักถาม ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 7. ไมพูดวกวน 0 8. ไมใชศัพทแพทย / ภาษาอังกฤษ 0 9. แสดงภาษากายเหมาะสม (ทาทีสนใจ / สบตา / พยักหนา / ตอบรับ) สวนที่ 2 ขอมูลในการใหคําแนะนํา ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 1. 2. 3. รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร
68
Communication skill
การแจงขาวราย แบบประเมินการปฏิบัติ
สถานีสอบที่ ชื่อ...................................เลขที่สอบ.............
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 ทักษะในการแจงขาวราย 0 1. แนะนําตนเองแกผูปวย 0 2. ประเมินวารูมากนอยเพียงใดเกี่ยวกับขาวราย ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 3. ใหขอมูลและตอบสนองตอปฏิกิริยาของผูรับแจง ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 4. แสดงความเห็นใจ / ใหกําลังใจ 0 5. สํารวจความคิดเห็นของผูรับแจงตอขาวราย ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 6. ชวยวางแผนในอนาคต (ดานการรักษา แหลงชวยเหลือ ครอบครัว) 0 7. สบตา / พยักหนา / ตอบรับ / สะทอนความรูสึก / เงียบ ไดเหมาะสม สวนที่ 2 ขอมูลในการแจงขาวราย ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 1. 2. รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร
รวม
100 คะแนน
69
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
การใหกําลังใจ
สถานีสอบที่
แบบประเมินการปฏิบัติ
ชื่อ...................................เลขที่สอบ.............
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 ทักษะในการใหกําลังใจ 0 1. ทักทาย 0 2. ถามอาการ ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 3. ตองตรวจสอบความคิดของผูปวย ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 4. จับประเด็นปญหา สะทอนความรูสึกเหมาะสม 0 5. พูดใหกําลังใจตรงเรื่อง กระตุนใหคิดเชิงบวก ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 6. สังเกตและตอบสนองปฎิกิริยาของผูรับแจง ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0
0
0 0
7.ชวยวางแผน หนทางแกไข ลดปญหา 8.เปดโอกาสใหผูปวยระบายสิ่งที่ไมไดพูดถึง ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 9.แจงใหทราบถาตองการความชวยเหลือ ใหสถานที่ หมายเลขโทรศัพท เวลาที่ ติดตอสะดวก ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 10.พูดชาๆ ไมตองเร็ว 11.แสดงภาษกายเหมาะสม: เชน สบตา / พยักหนา / ตอบรับ / เงียบ / สัมผัส สวนที่ 2 ขอมูลในการใหกําลังใจ 1. รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร
รวม
100 คะแนน ………………………………………………………..
70
Communication skill
ทักษะการขอ consent แบบประเมินการปฏิบัติ
สถานีสอบที่ ชื่อ...................................เลขที่สอบ............
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 ทักษะการขอ consent 0 1. แนะนําตนเองแกผูปวย 0 2. ตรวจสอบความเขาใจของผูปวยเกี่ยวกับเรื่องที่จะ ขอคํายินยอม ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 3. แจงผลดี / ผลเสีย 0 4. แจงขั้นตอนในการดําเนินการ 0 5. เปดโอกาสใหผูปวยซักถาม ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 6. เปดโอกาสใหผูปวยตัดสินใจ ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 7. ไมพูดวกวน 0 8. ไมใชศัพทแพทย / ภาษาอังกฤษ 0 9. มีการสังเกตปฏิกิริยาของผูปวย (กรณีมีบทผูปวย) 0 10. แสดงภาษากายที่เหมาะสม / สุภาพ สวนที่ 2 ขอมูลในการ consent 1. 2. 3. รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร รวม 100 คะแนน ………………………………………………………..
71
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ทักษะการใหคําปรึกษา
สถานีสอบที่
แบบประเมินการปฏิบัติ
ชื่อ...................................เลขที่สอบ............
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 ทักษะการใหคําปรึกษา 0 1. แนะนําตนเอง 0 2. ทําความเขาใจปญหาผูมาปรึกษา ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 3. ใหขอมูล และแนวทางดําเนินการโดยไมโนมนาวยัดเยียดความคิด หรือเลือกวิธีให 0 4. ใหผูปวยเลือกวิธี ใหเวลาคิด ไมเรงรัด อาจนิ่งเงียบ ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 5. แสดงความรับรูความรูสึกผูปวย สะทอนความรูสึก 0 6. ใหกําลังใจ 0 7. ใหโอกาสซักถาม ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 8. มีการสังเกตปฏิกิริยาของผูปวย (กรณีมีบทผูปวย) สวนที่ 2 ขอมูลในการใหคําปรึกษา ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 1. 2. รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร รวม
100 คะแนน ………………………………………………………..
72
Communication skill
การสาธิตวิธีการปฏิบัติตัวแกผูปวย / ญาติ สถานีสอบที่ แบบประเมินการปฏิบัติ (แผนที่ 1)
ชื่อ...................................เลขที่สอบ..........
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 ทักษะในการสาธิตการปฏิบัติตัวแกผูปวย 0 1. แนะนําตนเองแกผูปวย 0 2. แจงประโยชนของการปฏิบัติตามการสาธิต 0 3. สํารวจความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องที่จะสาธิต ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 4. สาธิตใหผูปวยดูเปนขั้นตอน 0 5. ผูประเมินสังเกตผูสอบสํารวจวาตาผูปวย/ญาติจองจับอยูที่ กําลังสาธิตและอธิบาย ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 6. ย้ําถามความเขาใจ 0 7. ตรวจสอบความเขาใจโดยใหผูปวย / ญาติ ปฏิบัติใหดูภาย
0 0 0
รวม
100
หลังสาธิต ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 8. ผูสอบสํารวจความถูกตองและแกไขขอบกพรอง 9. ย้ําความจําเปน / ใหกําลังใจใหหมั่นปฏิบตั ิ อยาทอ 10. ใหโอกาสผูปวยซักถามเปนระยะ และเมื่อจบการสาธิต ตองมีบทผูปวยในขอนี้ สวนที่ 2 ขอมูลในการสาธิต ตองมีบทผูปวยในขอนี้ รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร คะแนน ………………………………………………………..
73
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
การอธิบายโรค และ การรักษา
สถานีสอบที่
แบบประเมินการปฏิบัติ
ชื่อ...................................เลขที่สอบ..........
โจทย คุณ....................................................................................... คําสั่งปฏิบัติ จงให..........................(5 นาที) ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน สวนที่ 1 ทักษะในการใหขอมูล/ใหคําแนะนํา 0 1. แจงโรค/อธิบายเหตุผลการวินิจฉัย 0 2.สํารวจความรูเดิมของผูปวยในโรคที่แจง ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 3. ใหขอมูลในสวนที่รับบริการไมรู หรือ รูไมถกู ตอง 0 4. แจงวิธีการรักษา 0 5.แจงขอดี/ขอเสียของวิธีรักษาที่แนะนําให (ถามีหลายวิธีใหเลือก แจงขอดี ขอเสียของแตละวิธี) 6.สายตาสํารวจผูปวยรับฟงอยางตั้งใจ 0 7. สะทอนความรูสึกไดเหมาะสม 0 8. ไมเรงรัดคําตอบ นิ่ง ใหเวลาผูปวยคิด ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 9. ใหผูปวยทวน หรือสรุปวิธีการกินยาที่จําเปน ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 10.ใหโอกาสผูปวยซักถาม ตองมีบทผูปวยในขอนี้ 0 11. แจงการนัดหมาย การติดตามผลการรักษา 12.อธิบายชาๆ ชัดถอยชัดคํา 13.ไมพูดวกวน 14.ไมใชศัพทแพทย/ภาษาอังกฤษ 15.แสดงภาษากายเหมาะสม (ทาทีสนใจ/สบตา/พยักหนา/ตอบรับ)
รวม
74
สวนที่ 2 ขอมูลในการอธิบายโรคและการรักษา ตองมีบทผูปวยในขอนี้ รวมคะแนนโดยเจาหนาที่งานแพทยศาสตร 100 คะแนน
Communication skill
การใหคําปรึกษาและการบอกขาวราย อาจารย นพ.ปฏิรพ ปองประพฤติ ภาควิชาจิตเวชศาสตร มหาวิทยาลัยศรึนครินทรวิโรฒ การใหคําปรึกษา เปนกระบวนการระหวางบุคคล 2 ฝายที่มีปฏิสัมพันธกันโดย ผูใหคําปรึกษาใช คุณสมบัติสวนตัว ความสามารถ และทักษะ ตางๆ กระตุนใหผูรับคําปรึกษา สํารวจตนเองเขาใจปญหาที่ แทจริง สาเหตุ ความตองการของตนเอง สามารถแกไขปญหาไดเองดวยศักยภาพของตนเอง การให คําปรึกษาที่นํามาใชในวงการแพทย นั้น เชน การใหคําปรึกษาในการเลิกยาเสพติด การใหคําปรึกษาในการ ปรับพฤติกรรมเสี่ยง ลดน้ําหนัก การใหคําปรึกษาในการตรวจรักษา HIV/AIDS รวมถึงนําทักษะดานนี้มาใช ในการบอกขาวรายดวย ทักษะตางๆ เชน การใชคําถามปลายเปด ในกรณีเริ่มตนหรือตองการขอมูลที่ไม เฉพาะเจาะจง การฟง การเงียบ การแสดงความเขาใจ (empathy) การแสดงความเห็นอกเห็นใจ ( การมองการ สัมผัส การยื่น tissue ) การใชทักษะการสะทอนขอความ สะทอนความรูสึก การสรุปความ เปนตน การบอกขาวราย มีปจจัยที่มีผลตอกระบวนการรับรู ความรูสึกและการตอบสนอง จากการบอกขาว รายนั้น อาจแบงไดเปน 3 ปจจัย คือ 1. ผูรับขาวราย ไดแก ผูปวย ญาติ 2. ผูบอกขาวราย ไดแก แพทย ทีมผูรักษา 3. สิ่งแวดลอม ไดแก ปจจัยแวดลอมภายนอกที่จะมีผลตอกระบวนการบอกขาวรายนั้น เชน สถานที่ เวลา ผูรับขาวราย ปฏิกิริยา การตอบสนอง หรือการปรับตัวกับขาวรายนั้นแตกตางกันไปในแตละบุคคล ขึ้นกับพื้นฐานของตัวบุคคลนั้นเอง เชน บุคลิกภาพ ประสบการณ ความรูความเขาใจตอโรค วิธีการปรับตัว หรือแกปญหา ( Coping style ) ภาวะความเจ็บปวยทั้งทางกายและทางจิตใจที่มีอยูเดิม รวมถึงปจจัยอื่นๆที่ แวดลอม เชน คูสมรส ญาติ ( Supporting system ) ภาวะการเงิน การงาน ที่อาจสงผลตอสภาพของผูปวย การศึกษาของ คูเบอร รอส ( Kubler ross ) พบวา ผูรับขาวรายมักจะตอบสนองดวย ลักษณะอาการซึ่งแบงไดเปน 5 ขั้นตอน กระบวนการทั้ง 5 ขั้นตอนนั้นอาจไมเกิดตอเนื่องกันตามลําดับ และ อาจไมเกิดครบทุกขั้นตอน รวมถึงบางครั้งอาจกลับไปในขั้นตอนที่เคยเกิดมาแลวได 1. Denial (Shock) คือการตกใจและปฏิเสธความจริงวามันไมไดเปนอยางนั้นแน ๆผูปวยจะ พยายามไปรักษากับโรงพยาบาลและแพทยที่อื่น ๆ 2. Anger คือความโกรธ โกรธที่ตัวเองกําลังจะตาย โกรธแพทยและทีมผูรักษา ซึ่งไม สามารถรักษาใหหายได ฯลฯ 3. Bargaining เปนความรูสึกที่อยากตอรองกับความตายและความสูญเสียที่กําลังจะมาถึง อยากจะเลื่อนเวลาออกไป เพื่อที่จะปรับปรุงวิถีชีวิตใหม หรือทํ างานอุทิศตัวเพื่อ อุดมการณบางอยางตามความเชื่อของตน 4. Depression ชวงนี้มีอาการซึมเศรา หมดแรง มองโลกในแงลบ เบื่ออาหาร นอนไมหลับ อยากตาย 5. Acceptance เปนระยะที่ยอมรับความจริง พรอมใจที่จะเผชิญกับทุกสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับตัว ในระยะนี้พฤติกรรมจะมีความเหมาะสมกวาระยะตาง ๆ ที่ผานมา ผูบอกขาวราย ( แพทย ) ปจจัยที่แพทยตองตระหนักและเตรียมในสวนของตนเองที่เปนผูบอกขาวราย คือ 75
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
• มีขอมูลที่ถูกตองตามจริงเกี่ยวกับโรคหรือภาวะที่เปนรวมทั้งทางเลือกเกี่ยวกับการรักษาที่มี อยูของผูปวย • มีความรูทางดานการแพทยที่จําเปน และที่ผูปวยหรือญาติอาจมีขอสงสัย • สภาพความพรอมทางรางกายและจิตใจ • ความรูสึกที่เขาใจผูปวยและญาติ ( Empathy ) ทั้งในดานความรูสึกของตนที่มีตอผูปวยและ มีการแสดงออกตอบสนองหลังทราบขาวรายไดอยางเหมาะสม ใหผูปวยและญาติรูสึกได • ทาทีรวมถึง ทักษะในการบอกขาวราย ทักษะในการสื่อสารขอมูล การใชคําพูด การใช ภาษากาย เชน การหลีกเลี่ยงการใชศัพททางการแพทยที่ยากแกความเขาใจ การมีทาที เห็นอกเห็นใจที่เหมาะสม • จิตใจที่มั่นคงหนักแนน รูเทาทันอารมณของตน เชน ไมออนไหวคลอยตามไปกับความ เสียใจของผูปวยจนพูดใหความหวังแกผูปวยเกินความเปนจริง • ระมัดระวังการคิดแทนผูปวย คิดวาผูปวยคงตองการบางสิ่งบางอยางโดยไมไดถามถึงความ ตองการของผูปวยตามจริง เชน คิดวาผูปวยตองการการรักษาแบบหนึ่งแบบใดโดยไมได แจงหรือใหผูปวยมีสวนรวมในการรับรูหรือวางแผนการรักษา สิ่งแวดลอม 1. สถานที่ มีสถานที่เงียบสงบไมมีสิ่งรบกวนสมาธิ สามารถพูดคุย แสดงออกทาง อารมณไดเปนการสวนตัวไมถูกขัดจังหวะ หรือทําใหขอมูลถูกเปดเผยไมเปนความลับ 2. เวลา มีเวลาในการชี้แจงรายละเอียด หรือ เปดโอกาสใหซักถาม ไมมีขอกําหนด แนนอนวาจะตองใชเวลานานเทาใดในการใหขอมูลกับผูปวย และญาติ ความสลับซับซอนรายละเอียดของ ขอมูล หรือ มีประเด็นที่เปนปญหา โดยพิจารณาเปนรายๆไป 3. กาลเทศะ เลือกชวงจังหวะเวลาที่เหมาะสมที่สุดเทาที่พอจะทําได เชน ไมเลือกบอก ในขณะที่ผูปวยกําลังทานอาหารและไมพรอมที่จะรับขอมูล ขั้นตอนในการบอกขาวราย 1. การเตรียมตัว 1. เตรียมขอมูลของผูปวย อาการ อาการแสดง การวินิจฉัย รวมทั้ง แนวทางการดูแลรักษา พยากรณโรค แนวทางเลือกอื่นในการรักษา เตรียมบทสนทนา และขอมูลที่สําคัญที่จะตองบอกผูปวย 2. เตรียมสถานที่ และ เวลา มีสถานที่เงียบสงบสามารถพูดคุยกันเปนการสวนตัวโดยไมถูกขัดจังหวะ 2. บทสนทนาขั้นตนเพื่อสรางสัมพันธภาพและประเมินการรับรูของผูปวยและญาติ 1 . แนะนําตัวเอง 2. การสรางบรรยากาศกอนเริ่มการสนทนาควรสรางบรรยากาศใหคูสนทนารูสึกผอนคลาย และมีความเปนกันเองที่พอเหมาะ 3. ประเมินความรูสึกและการรับรูถึงโรคที่เปนของตัวผูปวยและญาติ 4. ประเมินความตองการของผูปวยและญาติกอน วาอยากรูขอมูลอะไร มากนอยเพียงใด
76
Communication skill
3. การบอกขาวราย 1.การเกริ่นนํา(warningshot)แพทยควรเกริ่นนําเพื่อใหผูรับขาวมีเวลาตั้งตัวและเตรียมใจ เชน ตัวอยางการบอกผล HIV 1.ตอนตรวจบอกหรือไมวาจะตรวจอะไรบาง 2.เตรียมใจมาหรือไม เตรียมมาอยางไร 3.รูสึกอยางไรเมื่อตองมาฟงผล ละขณะนี้ตื่นเตน กลัว กังวลอะไรบางไหม 4.ใหทําใจใหสงบ ไมตองกังวลเกินไป 5.คิดวาผลการตรวจจะออกมาอยางไร บวกหรือลบ เพราะอะไร 6.คิดวาเสี่ยงหรือไม ถาเสี่ยง จากอะไร มากนอยแคไหน 7.ถาผลเปนลบรูสึกอยางไร ถาบวกรูสึกอยางไร 8.ถาผลเปนบวกอยางที่กลัว จะเตรียมตัวอยางไรตอไป 9.ขอใหตั้งใจฟงใหจบกอน อยาตกใจ ถาสงสัยถามได 10.ไมวาผลตรวจจะเปนแบบไหน ทุกอยางมีทางออกและเราพรอมที่จะชวยดูแล 2. การใหขอมูลควรใหขอมูลตามจริง ชัดเจน เขาใจงาย หลีกเลี่ยงการใช ศัพททางการแพทย ที่เขาใจยาก บอกความจริงตามลําดับเหตุการณจากเริ่มตนจนจบ กลาวถึงการ ตรวจสอบขอผิดพลาดตางๆ วาไดระมัดระวังอยางเต็มที่ และสรุปวามีความผิดปกติจริง เปน..... 3. กริยาทาทางและคําพูด ควรแสดงออกถึงความรูสึกจริงใจ ( empathy )เห็นอกเห็นใจ และมี สีหนาทาทางที่ออนโยน 4. สังเกตทาที อารมณ จิตใจของผูฟง อาจมีเวนระยะใหผูปวยไดปรับอารมณ หลีกเลี่ยงการ ใหขอมูลในขณะที่ผูฟงไมพรอม 5. มีจังหวะหยุด ใหโอกาสผูปวยและญาติระบายอารมณและแสดงความรูสึก 6. แสดงใหผูปวยและญาติรับรูวาพรอมที่จะชวยเหลืออยางเต็มที่ 7. บอกถึงแผนการรักษาใหกําลังใจและใหความหวัง การใหความหวังขณะแจงขาวรายมี ความสําคัญมากตอจิตใจของผูปวยและญาติ แตตองเปนความหวังตามจริงที่อาจเปนไปได 8. ควรสอบถามความรูสึก การรับรู ความคาดหวัง จิตใจ คานิยม ความเชื่อ ความตองการ และ ทัศนคติของผูปวย เพื่อใหผูปวยรับรูไดตรงความเปนจริงใหมากที่สุด
77
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
9. มีการตอบสนองตอปฎิกริยาหลังทราบขาวราย ( Kuber ross )ของผูปวยอยางเหมาะสม เชน 1. Denial (Shock) สะทอนความรูสึก เชน คุณคงรูสึกตกใจ สับสน หรืออาจนิ่งเงียบสัมผัส หรือพูด แบบอื่นๆ เชน ใครที่เจอแบบนี้คงรูสึกเหมือนคุณ หรือสะทอนความรูสึก คุณคงรูสึกไมอยากเชื่อ ไม อยากรับรู คิดไมถึง รับไมได เปนไปไมได 2. Anger สะทอนความรูสึก คุณคงรูสึกไมพอใจ หงุดหงิด ไมสบายใจ ไมเห็นดวย หรือ พูดวา บอก ความจริงใหทราบเพื่อเตรียมแนวทางแกไข ถามีอะไรที่พอจะชวยใหสบายใจขึ้นขอให 3. Bargaining สะทอนความรูสึก คุณคงรูสึกไมแนใจในผลตรวจ คิดวาอาจมีขอ ผิดพลาด ผลการ ตรวจยังไมสิ้นสุด ตองตรวจสอบความถูกตอง กอนจะแจงผลเราตรวจสอบความถูกตองทุกครั้ง ถา คุณไมแนใจในผลการตรวจก็ตรวจซ้ําได แตผลอาจไมตางไปจากเดิม 4. Depression สะทอนความรูสึก คุณคงรูสึกเสียใจ สะเทือนใจ คิดวาไมนาเปนคุณ ทําไมตองเปน คุณ ไมมีใครอยากใหผลการตรวจของคุณออกมาเปนอยางนี้ คุณรูสึกอยางไร สามารถแสดงออกมา ได หรือใชการนิ่งเงียบ สัมผัส 10. มีการทดสอบความเขาใจ โดยกระตุนใหผูปวยถาม พูดซ้ําในประเด็นที่สําคัญที่เคยพูด 11. เปดโอกาสใหผูปวยและญาติไดซักถาม และมีสวนรวมในการวางแผนการรักษา 12. สรุปสิ่งที่พูดคุยกัน เพื่อทบทวน รวมถึงประเมินความเขาใจของผูฟง
78
Communication skill
ขอปฏิบัติเมื่ออยูสถานการณทางจิตวิทยา (บทเรียนจากเหตุการณจริง) อาจารย นพ.ฉัตรชัย กรีพละ ภาควิชาอายุรศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เมื่อผูปวยจําลองแสดงบทบาทที่มีอารมณ ไมวาเสียใจ หรือโกรธ นิสิตควรปฏิบัติตัวดังนี้ 1.ตั้งสติใหมั่น อยาตกใจ 2.ถาผูปวยรองไห หรือแสดงอารมณเสียใจ ใหใช tissue technique โดยนิสิตควรยื่นผาเช็ดหนา หรือกระดาษ ทิชชู ซึ่งอาจมีบนโตะตรวจ กรณีผูปวยจําลอง และผูตรวจเปนเพศเดียวกันอาจสัมผัสผูปวยที่แขนเบาๆ ดวย ความสุภาพ และใชทักษะเงียบ(ครูสั้นๆ เพราะเวลาจะหมด) และควรพูดวา “หมอเขาใจนะครับวาคุณคง เสียใจ หรือ หมอเขาใจนะครับวาคุณคง.....” น้ําเสียงนุมนวล (ใหคิดวาเปนพระเอกหรือนางเอกตลอดเวลา หามเปนตัวโกง หรือนางอิจฉา) ถาผูปวยฟูมฟายใหใชทักษะเงียบกับทักษะทวนความ สะทอนความรูสึก ประกอบ ทั้งนี้หากผูปวยสรางคําถามใหตองตอบ ซึ่งนิสิตไมสามารถตัดสินใจได ใหถามผูปวยกลับดวยคําถาม เดียวกันในลักษณะสะทอนความรูสึก ทําใหนิสิตไมจบมุมกับคําถามของผูปวยจําลอง เชน ผูปวยจําลอง : พอดิฉันจะตายจริงๆหรือคะ? แลวดิฉันจะอยูกับใคร? นิสิต : (ยื่นผาเช็ดหนา) (เงียบ) หมอเขาใจนะครับวาคุณกําลังเสียใจ หรือ หมอเขาใจนะครับวาคุณกําลังตกใจ ผูปวยจําลอง : แลวดิฉันจะอยูกับใคร? ดิฉันจําทําอยางไรดีถาไมมีคุณพอ นิสิต : คุณรักคุณพอคุณมาก และกังวลเมื่อตองเสียทานไป (สะทอนความรูสึก) (ทั้งนี้นิสิตอาจเงียบ เลี่ยงที่จะ ไมตอบคําถาม เพื่อที่จะไมทําใหตนเองจนมุม)
79
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
การสื่อสารดวยวาจา Communication 1: การใหคําแนะนํา-สาธิต Setting 1. ใหแนะนําสาธิตการทําการบริหารรางกายผูปวย hemiparesis ผูปวยหญิงอายุ 50 ป Lt.hemiparesis 5 days PTA ไดรับการรักษาใน ร.พ. ไดรับการวินิจฉัยเปน Ischemic stroke แพทยเตรียมจําหนายผูปวยกลับบาน PE : Rt. Grade V Lt.hemiparesis upper extremity grade 0 flaccid tone lower extremity grade 0 คําสั่ง จงสอนผูปวยและญาติใหการทําการบริหารรางกายอยางถูกตอง คําตอบ A.Communication process Key point : กรณีคําแนะนําในลักษณะรูปแบบสาธิต ตองใหผูปวยจําลองทําตามดวยเสมอ ซึ่ง คณะกรรมการจะใหคะแนนอาจสูงถึง 20% 1.แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2.สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3.ใหกําลังใจผูปวยวามีโอกาสที่กลามเนื้อจะฟนกลับคืนปกติ 4.ระหวางสอนแสดงมีพูดชมญาติบาง 5.สอบถามความเขาใจของญาติและผูปวยเปนระยะๆ 6.เปดโอกาสใหญาติไดลงมือทําดวยตัวเอง**** ( คะแนนสวนนี้สูงมาก) 7.อธิบายวาผูปวยเปนอะไร และแพทยจะมาสอนแสดงใหญาติชวยบริหารแขนและขา 8.อธิบายความสําคัญเพื่อปองกันมิใหขอยึดติดขณะรอกําลังกลามเนื้อฟนตัว 9.บริหารไดทั้งในทานอนหงายหรือนั่ง แตจะสอนในทานอน
80
Communication skill
B.Knowledge Content การบริหารแขน 1.จับแขนซายเหยียด อีกมือประคองขอศอกไว ยกแขนขึ้นจนสุดเหนือหัว ตนแขนซายแนบหู แลวนํากลับที่เดิม (shoulder flexion) 2.จับแขนซายกางออกจนสุด อีกมืชวยประคองขอศอกไวใหเหยียดแลวนํากลับที่เดิม (shoulder abduction) 3.จับตนแขนใหกางออกดานขาง 90 องศา พรอมกับงอขอศอกใหแขนทอนปลายตั้งฉากกับตนแขนแลวจับ ปลายแขนยกขึ้นหมุนไปทางศีรษะจนสุด และยกขึ้นแลวหมุนลงไปหาปลายเทาจนสุด (internal/external rotation) 4.จับแขนทอนปลายงอขอศอกเต็มที่แลวเหยียดออกจนสุด (elbow extension) 5.จับขอมือซายกระดกขึ้นและลงจนสุด (wrist extension/ flexion) 6.จับนิ้วมืองอขอทุกขอจนสุด ทําพรอมกันทุกนิ้วหรือทําทีละนิ้วไดแลวจับนิ้วเหยียดออกเต็มที่ (finger flexion/extension) การบริหารขา 1.จับตนขาและขอเทาซายยกขึ้นใหสะโพกงอ และเขาซายงอเต็มที่จนเขาชิดอก แลวจับเหยียดออก (hip flexion/ extension) 2.ยกขาซายใหสะโพกและเขางอประมาณ 90 องศา แลวจับเทาหมุนปลายเทาและขาทอนปลายเขาแลวออกจน สุด จับขาวาง (hip external/ internal rotation) 3.จับเทากระดกขึ้นและลงจนสุด (ankle flexion / extension) 4.ย้ําใหทําการบริหารทาละ 5-10 ครั้ง 5.บริหารอยางนอยวันละ 1-2 รอบ 6.เนนย้ําใหจับแขนขาบริหารอยางนุมนวนล ชวยประคอง ไมฉุดกระชาก 7.แนะนําใหใชหมอนใบเล็กๆ หนุนมือซายใหสูงเล็กนอยเพื่อปองกันมือบวม ซึ่งจะทําใหขอนิ้วมือยึดติด
81
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
Setting 2 : อธิบาย-แนะนํา OA KNEE ผูปวยหญิงอายุ 55 ป มีอาการปวดหัวเขาขางซายมาประมาณ 5 วันกอนมาโรงพยาบาล เดิน มีเสียงดังกรอบแกรบในเขาขางซาย ปวด บวมรอน เดินไมคอยถนัด เขาติดตอนเชาเล็กนอยจึงมา โรงพยาบาล เพื่อขอการรักษาจากทาน PE Left knee : mild swelling and inflammation, crepitation, varus deformity Film= OA knee คําตอบ A.Communication process 1. แนะนําตัวกับผูปวย ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2. สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3. เปดโอกาสใหญาติ ซักถาม 4. สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่ญาติมีกับโรค หรือ ความผิดปกติที่มีกอนหนา 5. สอบถามความเขาใจของญาติและผูปวยเปนระยะๆ 6. เปดโอกาสใหญาติไดลงมือทําดวยตัวเอง*** 7. แจงโรค/อธิบายเหตุผลการวินิจฉัย 7.1 แจงโรควาเปนขอเขาเสื่อม 7.2 มีอาการปวดเขาและฟลม x-rays เขาได 7.3 มีขอยึดติดตอนเชานอยกวาครึ่งชั่วโมง 7.4 มี crepitus เมื่อตรวจเขา B.Knowledge Content 1 1 แนะนําเรื่องการลดน้ําหนัก 2 แนะนําเรื่องการนั่ง 3 แนะนําการขึ้นลงบันไดและอธิบายไดถูกตอง หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันไดใหมากที่สุด ใชขางดีขึ้นกอน และใชขางไมดีลงกอน 4 แนะนําเรื่องหองน้ํา ลักษณะสวมที่เหมาะสม 5 แนะนําเรื่องการปรับรองเทา ใหใส lateral wedge ที่พื้นรองเทา 6 แนะนําเรื่องการใส knee brace 7 แนะนําเรื่องการใช gait aid ที่เหมาะสมและวิธีการใชที่ถูกตอง ควรเลือกถือ cane และถือดาน ขวามือ 8 คําแนะนําผูปวยเรื่องการออกกําลังกาย a. Isometric exercise และอธิบายการทํา b. Isotonic exercise และอธิบายการทํา c. ประเภทกีฬาที่ควรแนะนํา เชน วายน้ํา, ปนจักรยาน, เดินในน้ํา, เดิน
82
Communication skill
Setting 3 : ใหบอกผลการตรวจสุขภาพประจําป พรอมทั้ง อธิบาย life style modification ใน รักษาโรคไขมันในหลอดเลิอดสูง ชายไทยอายุ 42 ป อาชีพหัวหนาฝายซอมบํารุง สุขภาพรางกายแข็งแรง สมบูรณดี • ในครอบครัวไมมีใครเปน hypertension, DM หรือโรคหัวใจ ไขมันในเลือดของพอแม พี่นองอยูในเกณฑ ปกติ • ไมมีประวัติสูบบุหรี่ แตดื่มเบียรเปนประจํา ตองเดินทาง มีงานเลี้ยง งานสังคมบอย • ดัชนีมวลกาย (BMI) = 24.5 kg/m2 Blood pressure 150/95 mm. Hg • ตรวจรางกายไมพบความผิดปกติใดๆ • การตรวจ FBS ทํางานของไต ตับ และ ไทรอยดอยูในเกณฑปกติ • Chest X-ray และ EKG แพทยอานผลวาปกติ มาปรึกษาทานดวยเรื่องผลการตรวจรางกายประจําป พบผลการตรวจระดับไขมัน ในเลือดเปนดังนี้
ระดับ Cholesterol 270 mg/dl ระดับ HDL 60 mg/dl ระดับ Triglyceride 150 mg/dl คําสั่ง I. ในผูปวยรายนี้มีปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดกี่ปจจัย และอะไรบาง II. ทานจะใหคําแนะนําการปฏิบัติตัวในผูปวยรายนี้อยางไรบาง
คําตอบ A.Communication process 1.แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2.สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3.เปดโอกาสใหญาติ ซักถาม 4.สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่ญาติมีกับโรค หรือ ความผิดปกติที่มีกอนหนา 5.สอบถามความเขาใจของญาติและผูปวยเปนระยะๆ B.Knowledge content I.ในผูปวยรายนี้มีเพียงปจจัยเดียว คือ hypertension จากปจจัยเสี่ยงทั้งหมด (อายุเพศชาย 45 ป เพศหญิง 55 ป/ ความดันโลหิตสูง/สูบบุหรี่/ เบาหวาน/ ประวัติครอบครัว/ ระดับ HDL ต่ํา)
83
คูมือการซักประวัตติ ตรวจรางกาย และะการสื่อสารทางการแ รแพทย เพื่อการสอบบวิชาชีพเวชกรรม
II. คําแนะนําการปฏฏิบัติตัว ว ง เชน มันสั ตว แกงกะทิ เนย นม ครีมไอศกรี ม ม ขนนมที่ทําจากแป ปง • ลดอาหารทีทีม่ ีไขมันอิ่มตัวสู • ลดอาหารทีทีม่ ีcholesterool สูง เชนไขแดดง หอยนางรรม เครื่องใน น กรรมกาารกินอาหาร เเชน การกินอาหารนอกบาน กะปริมาณ ณการกิน กินใหหถูก • ปรับเปลี่ยนพฤติ หลัก หลีกเลีลี่ยงของทอด ทํา อาหารทีใ่ ใชน้ํามันที่มีไขมันอิ่มตัวต่าํ เชน น้ํามันถั ่วเหลือง ข นต่ํา เชน ไไก ปลา ถั่ว • รับประทานนโปรตีนที่มีไขมั น • ควรรับประะทานคารโบไฮเดรตเชิงซออน เชน ขาวแลละแปงเปนหลลัก ควรหลีกเลีลี่ยงของหวาน น้ําตาล แ • บริโภคผักและผลไม • งดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกกอฮอล • ควบคุมความดั ค นโลหิต • หลีกเลี่ยงบริ ง โภคเกลือ หรืออาหารทีที่เค็มหรือมีโซเดี ซ ยมสูง • ออกกําลัังกายอยางนอย อ 3 ครั้งตอสั ปดาห ครั้งละะ 30 นาที
84
Communication skill
Setting 4. มารดาหลังคลอด บุตรคนแรก มาขอรับคําแนะนําจากทานเรื่องการใหนมบุตร คําสั่ง จงใหคําแนะนําการเลี้ยงลูกดวยนมแม คําตอบ A.Communication process
1. แนะนําตัว สรางความคุน เคย 2. ใชคําพูดชัดเจน เขาใจงาย ไมใชศัพทเทคนิคมากเกินไป 3. เปดโอกาสใหมารดาซักถาม B.knowledge content
1. บอกประโยชนของน้ํานมแมไดอยางนอย 5 ขอ 2. สาธิตการใหนมลูกได ทานั่ง / หรือทานอน / หรือจัดทาใหนมบุตรหลังผาคลอด 3. บอกขั้นตอนการใหนมแมไดถูกตอง เนน 3.1 ใชหัวนมเขี่ยริมฝปากลูกใหลูกอาปาก 3.2 ใหปากลูกงับถึงลานเตานม 3.3 ใหดูดจนหมดทีละขางเพื่อใหไดน้ํานมสวนทาย ( ได hind milk ) 4. ควรใหลูกดูดนมบอยๆ ทุก 2 – 3 ชั่วโมง 5. บอกการเก็บนมแมในตูเ ย็นธรรมดา ( 4°C ) ไดนาน 24 – 48 ชั่วโมง 6. เก็บในภาชนะที่สะอาดและปดมิดชิด 7. หากเก็บในชองแข็ง ( – 14 °C ) คงที่เก็บไดถึง 3 เดือน 8. เมื่อจะนํามาใช นําภาชนะบรรจุไปแชนา้ํ อุน / ไมนําไปตม
85
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
Setting 5. ผูปว ยโรคถุงลมโปงพอง มาขอรับคําปรึกษาเพื่อเลิกสูบบุหรี่ คําสั่ง จงใหแนะนําเพื่อการหยุดสูบบุหรี่ คําตอบ A.Communication process 1.แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2.สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3.เปดโอกาสใหซักถาม 4.สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่มี 5.สอบถามความเขาใจของผูปวยเปนระยะๆ B.Knowledge content การบําบัดรักษาผูติดบุหรี่โดยไมใชยา ก. ใหคําแนะนํา 1. อธิบายใหผูปวยรูและเขาใจวาการสูบบุหรี่เปนอันตรายตอสุขภาพทําใหเกิดโรคตาง ๆ เชน โรคหัวใจ โคโรนารี่ , โรคหลอดเลือดสมอง, มะเร็งปอด ,COPD เปนตน 2. แนะนําใหผูปว ยหยุดสูบบุหรี่ทันที ไมจําเปนตองคอย ๆ ลดลง 3. แนะนําวิธีการหยุดบุหรี่ ดวยตนเองใหแกผูปวย - กําหนดวันที่ จะเริ่มหยุดที่แนนอน เชนไมเกิน 2 สัปดาห - ใหผูปวยบอกญาติ เพื่อน วาจะหยุดสูบบุหรี่ เพื่อการสนับสนุนจากคนรอบขาง - ทิ้งบุหรี่ และที่จุดบุหรี่ ไมใหนํามาใชไดอีก - แนะนําใหผูปวยหลีกเลี่ยงปจจัยที่จะใหกลับมาสูบบุหรี่ใหม ไดแก การดื่มสุรา ความเครียด การมีบุคคลอื่นที่ใกลชิดยังคงสูบบุหรี่ เปนตน 4.นัดใหผูปวยมารับการรักษาตอ เพื่อปองกันการกลับมาสูบบุหรี่ 5.ใชยุทธศาสตร STAR Set a quit date นิยมใชวันที่มีความหมายตอผูปวยหรือคนใกลชิด เชน วันเกิด วันครบรอบแตงงาน วันปใหม อยางไรก็ตามควรใหมีวันเลิกบุหรี่ใน 2 สับดา หลังจากตัดสินใจเลิก Tell family and request supportแนะนําใหผูปวยจางคนใกลชิด วาตนตัดสินใจจะเลิกบุหรี่แลว และขอใหคน เหลานี้ชวยเหลือ Anticipate challenges แพทยควรใหความรูเกี่ยวกับนิโคตินโดยกลยุทธ 4D Deep breath สูดหายใจเขากลั้นไวราว หาวินาที แลวหายใจออกชาๆทางปาก Drink water ดื่มนสะอาดวันละแปดแกว Do something อยาใหตนเองวางหางานอดิเรกทําตบอดเวลาเชน เลนกีฬา ออกกําลังกาย Delay พยายามยื้อเวลา แข็งใจ และไมยอมกลับไปสูบบุหรี่อีกแมในขณะที่มีอาการอยากบุหรี่ หลีกลี่ ยงงานสังสรรคที่มีผูสูบบุหรี่มากๆ หากเลี่ยงไมไดพยายามอยาใหมือวางเชนถือแกวน้ําผลไมแทนการนสูบบุหรี่ Remove tobacco product พยายามใหผูปวยทิ้งบุหรี่และอุปกรณการสูบทั้งหมด ไมใหเหลือทั้ง ในบาน ที่ทํางาน และใน รถ
86
Communication skill
Arrange ติดตามอาการครั้งแรกใน หนึ่งสับดาหลังวันเลิกบุหรี่ เมืออาการคงที่ดีแลวตรวจทุก สอง สับดา จาก นั้นเมือหยุดยาชวยเลิกบุหรี่ทุก สามเดือน Setting 6. ผูปวยชายอายุ 55 ป เปนโรคเกาทที่ขอเทา และหัวแมเทาเปนๆ หาย มา 5 ป ปนี้เปน
บอยทุก 1-2 เดือน ทุกครั้งที่ปวดตองไปหาหมอกินยาฉีดยาจึงจะหายตรวจพบ Chronic tophacous gout ผลการตรวจเลือด Creatinine 1.2 มก/ดล Uric acid 9.8 มก/ดล คําสั่ง : เพื่อปองกันไมใหเกิด gouty attack อีกทานจะใหคําแนะนําผูปวยอยางไร ขณะเริ่มใหยา colchicines และ allopurinol คําตอบ A.Communication process 1.แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2.สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3.เปดโอกาสใหซักถาม 4.สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่มี 5.สอบถามความเขาใจของผูปวยเปนระยะๆ B.Knowledge content 1. ขออักเสบของโรคเกาทเปนสิ่งที่ปองกันและรักษาได โดยใชการควบคุม อาหารและยา ซึ่งตองกินยา สม่ําเสมอตอเนื่องนานหลายป 2. โรคเกาท เกิดจากมีกรดยูริกคั่งมานานจนตกตะกอนตามขอ ยาที่ใหลดกรดยูริก คือ allopurinol ซึ่งถา ลดระดับกรดยูริกลงมาเหลือ 4-5 (5.5) มก/ดล จะสลายผลึกยูเรทใหหายไปได ซึ่งตองใชเวลาหลายป 3. ผลขางเคียงของ allopurinol คือ ผื่นแพยาควรเริ่มขนาดนอย 100 มก/วัน เพิ่มเปน 300 มก/วัน ใน 1 เดือน ใหยาขนาดนี้จนกระทั่ง ปุมกอนที่สะสมตามขอยุบหายไปหมอ จึงพิจารณาลดหรือหยุดยา - ถาเกิดผื่น คัน ระหวาง รับประทานยาควรหยุดยาแลวมาปรึกษาแพทย - ผลขางเคียงที่พบไมบอยคือตับอักเสบ ซึ่งพบในผูที่ตับไมดีอยูแลว จึงควรหลีกเลี่ยงการดื่มสุรา, ยา ดองเหลา 4.colchicine เปนยาที่ปองกันไมใหขออักเสบควรรับประทานวันละ 1-2 เม็ด ถาขออักเสบใหเพิ่มได 1 เม็ด 5.ผลขางเคียงของ colchicine คือ ทองเสียถามีอาการใหหยุดยา แลวเริ่มยาใหม ใหขนาดนอยลง
87
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
Setting 7. ผูปวยบาหวานเรื้อรัง มาขอรับคําแนะนําเพื่อปองกัน DM foot คําสั่ง :จงใหคําแนะนําเกี่ยวกับการดูแลเทาที่ถูกตองแกผูปวยเบาหวาน คําตอบ A.Communication process 1.แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2.สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3.เปดโอกาสใหซักถาม 4.สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่มี 5.สอบถามความเขาใจของผูปวยเปนระยะๆ B.Knowledge content 1. การสํารวจเทา แนะนําใหทําทุกวัน สํารวจใหทั่วเทา โดยเฉพาะซอกนิ้วเทา และฝาเทา ดูวามีแผล, รอย ถลอก, พุพอง, หนังแข็ง, ตาปลา หรือมีสีคล้ําผิดปกติหรือไม ถาสายตาไมดีใหผูใกลชิดชวยสํารวจ 2. การทําความสะอาดเทา แนะนําใหทําทุกวัน อยางนอยวันละครั้ง และทันทีเมื่อเทาสกปรก ทําความสะอาด ใหทั่ว รวมทั้งซอกนิ้วเทา ใชสบูออนและน้ําสะอาดทําความสะอาดเทา ไมแชเทาในน้ํานานเกินไป ใชผา เช็ดเทาและซอกนิ้วเทาใหแหงหลังจากทําความสะอาดเสร็จ ไมควรใชน้ํารอน ถาใชน้ําอุนตองมีผูอื่น ทดสอบอุณหภูมิมิใหรอนเกินไป 3. การสวมรองเทา สวมรองเทาเวลาเดินทุกครั้ง ไมเดินเทาเปลา รองเทาตองมีขนาดพอดี ไมหลวมหรือคับ จนเกินไป รองเทาควรทําจากวัสดุที่นุม ไมแข็งกระดางจนทําอันตรายตอผิวหนังงาย ถาสวมรองเทาหุมสน ควรสวมถุงเทาดวยเสมอ และถุงเทาไมควรรัดเกินไป สํารวจภายในรองเทาวามีสิ่งแปลกปลอมหรือไม กอนสวมรองเทา 4. การดูแลเล็บเทา ตัดเล็บเทาใหเสมอปลายนิ้วเทา ไมตัดจนสั้นเกินไป หรือจนมีเลือดไหล ไมขูดหรือแคะ ซอกเล็บ ใหตัดเปนแนวตรงไมโคงเขาซอกเล็บ และไมตัดเนื้อรอบเล็บ ถาสายตาไมดี ใหผูใกลชิดชวยทํา ให 5. เมื่อมีแผล หรือตาปลา หรือหนังแข็งเกิดขึ้น ควรปรึกษาแพทยไม รักษาดวยตัวเอง 6. หามใชกระเปาน้ํารอน หรือแผนประคบรอนวางที่เทา
88
Communication skill
Setting 8 : ผูปวยถูกสุนัขจรจัด กัดเขาที่นองซายและหนีไป มีบาดแผลลึกและกวาง คําสั่ง: ทานเปนแพทย จะใหการรักษาอยางไร คําตอบ A.Communication process 1.แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2.สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3.เปดโอกาสใหซักถาม 4.สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่มี 5.สอบถามความเขาใจของผูปวยเปนระยะๆ
B.Knowledge content 1. ลดจํานวนเชื้อตรงบาดแผลใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได โดยใชน้ําสะอาดลางบาดแผล ฟอกดวยสบูทันที หลังจากนั้นลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง เช็ดแผล ดวย Alcohol 70% ทิงเจอรไอโอดีนหรือ โพวิโดน ไอโอดีน ไมควรเย็บ แผล ถาจะเย็บแผลเพราะมีเลือดออกมากควรเย็บหลังฉีด Rabies Immunoglobulin แลว 2. ใหฉีด vaccine ปองกันพิษสุนัขบา โดยอาจใชวัคซีนที่มีมาตรฐาน ไมทํา จากเซลลประสาทหรือ สมอง ของสัตว อาทิเชน Human diploid cell vaccine หรือ Purified vero vaccine หรือ Purified chicken embryo cell vaccine โดยฉีดเขาที่กลามเนื้อไหล (deltoid muscle) ไมฉีดเขาที่สะโพก โดยฉีด 1 dose วันที่ 0,3,7,14,28 โดยวันที่ 0 เปนวันที่มาพบแพทยหรือวันที่สุนัขกัด 3. ฉีด Rabies immunoglobulin (RIG) เขาใตกนแผลและรอบๆ แผล ถามียาเหลือใหฉีดเขากลามให หมดในบริเวณที่หางไกล จากฉีดวัคซีน 4. ฉีดยาปองกันบาดทะยักเขาที่กลามเนื้อแขนโดยตารางฉีดควรเปน 0, 1, 6 เดือน ตามลําดับ (อยาง นอยตองไดฉีด 2 เข็ม) 5. การใหยาปฏิชีวนะควรใหยาที่ครอบคลุมเชื้อชนิดไมพึ่งออกซิเจน และยาครอบคลุมเชื้อแกรมบวกและ ลบชนิดพึ่งออกซิเจน อาทิ เชน ampicillin หรือ amoxycillin เปนตน 6. ควรทําแผลทุกวันและติดตามการรักษาจนกวาแผลจะหาย 7. ใหคําแนะนําแกผูปวยถึงอาการเริ่มแรกของพิษสุนัขบา อาทิเชน จะมีอาการชาที่บริเวณบาดแผล, ปวด ศรีษะ มีไขต่ําๆ และอาจมีอาการคันบริเวณรอยแผลที่ถูกกัดได ถาผูปวยมีอาการดังกลาว ควรรีบพบ แพทยเพื่อนตรวจรักษาตอไป
89
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
Setting 9.หญิงไทยคูอายุ 28 ป หลังคลอดบุตรคนแรก 1 สัปดาห มาตรวจดวยไข, ไอ ภาพรังสีทรวงอก พบ โพรงฝ ยอมเสมหะพบ AFB + 3 คําสั่ง : นอกจากใหยาวัณโรคที่เหมาะสมแกผูปวย ทานจะใหคําแนะนําผูปวยอยางไร คําตอบ A.Communication process 1.แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2.สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3.เปดโอกาสใหซักถาม 4.สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่มี 5.สอบถามความเขาใจของผูปวยเปนระยะๆ B.Knowledge content 1. ความรูเกี่ยวกับวัณโรคที่ผูปวยเปน 1.1 เปนโรคติดเชื้อ 1.2 ติดตอไดทางการหายใจ 1.3 ผูปวยอยูในระยะที่แพรเชื้อใหผูอื่นได 1.4 โรคอาจแพรกระจายไปสูผูที่อยูใกลชิดได ตั้งแตเริ่มมีอาการจนกวา จะไดรับการรักษาตอเนื่องอีก ระยะหนึ่ง 2. แนวทางการรักษาวัณโรคดวยยา 2.1 สามารถรักษาโรคใหหายขาดได โดยการมาพบแพทยและรับประทาน ยาสม่ําเสมอ (อยางสั้นที่สุด 6 เดือน) 2.2 ตรวจเสมหะ ติดตามผลการรักษา 2.3 อาการขางเคียงที่พบได คือ ตับอักเสบ ผื่น ผิวหนัง ถามีอาการเหลานี้ใหมาพบแพทยกอนกําหนด สามารถให breast feeding ได รับประทานยา rifampicin ปสสาวะจะออกสีแดงสมเปนปกติไมตองตกใจ 3. การปฏิบตั ิตัวทั่วไปของผูปวย 3.1 ปดปากปดจมูกเวลาไอดวยผา 3.2 เสมหะควรบวนเปนที่ เพื่อลดการแพรกระจายเชื้อ 3.3 รับประทานอาหารใหครบสวน 3.4 พักผอนใหเพียงพอ 4. การตรวจและรักษาผูสัมผัสโรค ก. สามี/ผูใหญ ในบาน และเด็กอื่นซึ่งอยูในบานใหมาพบแพทย ซักถามอาการ, ทํา Chest X-ray ข. ใหพาลูกไปใหกุมารแพทยตรวจ เพื่อตรวจหารองรอยหรือ อาการของโรค ทํา Chest X-ray, tuberculin test
90
Communication skill
Setting 10. ผูปวยเด็กชายอายุ 5 ป มารดานําสงดวยเริ่องไขสูง 1 วัน เนื่องจากเด็กละแวกบานปวยดวย ไขเลือดออกหลายคน คําสั่ง : ทานไดทําการตรวจรางกาย คิดวาเปน acute viral syndrome เด็กกินได ไมซึม เลนซนไดตามปกติ แตก็ไมสามารถยืนยันไดวาเปไขเลือดออกหรือไม จงใหคําแนะนําแกมารดา ในการดูแลไขของเด็กรายนี้ คําตอบ A.Communication process 1.แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2.สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3.เปดโอกาสใหซักถาม 4.สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่มี 5.สอบถามความเขาใจของผูปวยเปนระยะๆ B.Knowledge content I. ควรสอบถามความรูเดิมของแมเด็ก และสรุปเกี่ยวกับความเขาใจโรคที่ถูกตอง อาการของผูที่ติดเชื้อโรคไขเลือดออก หลังจากไดรับเชื้อจากยุงที่เปนพาหะแลว ประมาณ 5 - 8 วัน (ระยะฟกตัว) ผูปวยจะเริ่มมี อาการของโรค ซึ่งมีความรุนแรงแตกตางกันได ตั้งแตมีอาการคลายไขเดงกี ไปจนถึงมีอาการรุนแรง มากจนถึงช็อก และ ถึงเสียชีวิตได โรคไขเลือดออกเดงกี มีอาการสําคัญที่เปนรูปแบบคอนขางเฉพาะ 4 ประการ เรียงตามลําดับการเกิดกอน และ การเกิดหลัง ดังนี้ ไขสูงลอย : ไข 39-40 ทุกรายจะมีไขสูงเกิดขึ้นอยางเฉียบพลัน ซึ่งบางรายอาจมีอาการชัก เกิดขึ้น โดยเฉพาะในเด็กที่เคยมีประวัติการชักมากอน หรือ ในเด็กเล็กอายุนอยกวา 6 เดือน ผูปวย มักจะมีหนาแดง ( Flushed face ) อาจตรวจพบคอแดง (injected pharynx ) ได แตสวนใหญผูปวยจะ ไมมีอาการน้ํามูกไหล หรืออาการไอ ซึ่งชวยในการวินิจฉัยแยกโรคจากหัดในระยะแรก และโรคระบบ ทางเดินหายใจได เด็กโตอาจบนปวดศีรษะ ปวดรอบกระบอกตา สวนใหญไขจะสูงลอยอยู 2 – 7 วัน ประมาณรอยละ 15 อาจมีไขสูงนานเกิน 7 วัน อาจพบมีผื่นแบบ erythma หรือ maculopapular ซึ่งมี ลักษณะคลายผื่น rubella ได อาการเลือดออก : อาการเลือดออกที่พบบอยที่สุดที่ ผิวหนัง โดยจะตรวจพบวา เสนเลือด เปราะ แตกงายการทํา torniquet test ใหผลบวกไดตั้งแต 2 –3 วันแรกของโรค รวมกับมีจุดเลือดออก เล็กๆ กระจายอยูตามแขน ขา ลําตัว รักแร อาจมีเลือดกําเดา หรือเลือดออกตามไรฟน ในรายที่รุนแรง อาจมีอาเจียน แล ะถายอุจจาระเปนเลือด ซึ่งมักจะเปนสีดํา (malena ) อาการ เลือดออกในทางเดินอาหาร สวนใหญจะพบรวมกับภาวะช็อก สวนใหญจะคลําพบตับโตไดประมาณ
91
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
วันที่ 3- 4 นับแตเริ่มปวย ในระยะที่ยังมีไขอยูตับจะนุมและกดเจ็บ ตับโต สวนใหญจะคลําพบตับโตไดประมาณวันที่ 3 – 4 นับ แตเริ่มปวยตับจะนุมและกดเจ็บ ความผิดปกติของระบบไหลเวียนเลือด หรือ ช็อก : มักจะเกิดชวงไขจะลด เปนระยะที่มี การรั่วของพลาสมา ซึ่งจะพบทุกรายในผูปวยไขเลือดออกเดงกี โดยระยะรั่วจะมีประมาณ 24 – 28 ชั่วโมง ประมาณ 1 ใน 3 ของผูปวย ผูปวยไขเลือดออกเดงกีจะมีอาการรุนแรง มีภาวะการไหลเวียน ลมเหลวเกิดขึ้น เนื่องจากมีการรั่วของพลาสมาออกไปยังชองปอด/ชองทอง มากเกิด hypovolemic shock ซึ่งสวนใหญจะเกิดขึ้นพรอมๆ กับที่มีไขลดลงอยางรวดเร็ว เวลาที่เกิดช็อกจึงขึ้นอยูกับ ระยะเวลามีไข อาจเกิดไดตั้งแตวันที่ 3 ของโรค (ถามีไข 2 วัน ) หรือเกิดวันที่ 8 ของโรค (ถามีไข 7 วัน ) ผูปวยจะมีอาการเลวลง เริ่มมีอาการกระสับกระสาย มือเทาเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิต เปลี่ยนแปลง ผูปวยไขเลือดออกเดงกีที่อยูในภาวะช็อกสวนใหญจะมีภาวะรูสติดี พูดรูเรื่อง อาจบน กระหายน้ํา ภาวะช็อกที่เกิดขึ้นนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ถาไมไดรับการรักษาผูปวยจะมี อาการเลวลง รอบปากเขียว ผิวสีมวงๆ ตัวเย็นชืด จับชีพจรและ/หรือวัดความดันไมได (profound shock ) ภาวะรูสติเปลี่ยนไป และจะเสียชีวิตภายใน 12 – 24 ชั่วโมงหลังเริ่มมีภาวะช็อก หากวาผูปวย ไดรับการรักษาช็อกอยางทันทวงที และถูกตองกอนที่จะเขาสูระยะ profound shock สวนใหญก็จะฟน ตัวไดอยางรวดเร็ว
II. บอก วิธีรักษาผูปวย โรคไขเลือดออก เบื้องตน ขณะนี้ ยังไมมียาตานไวรัส ที่มีฤทธิ์เฉพาะสําหรับเชื้อไขเลือดออก และไมมีวัคซีนปองกัน การรักษา โรคนี้ เปนแบบการรักษาตามอาการ และประคับประคอง ซึ่งจะไดผลดี ถาใหการวินิจฉัยโรค ไดตั้งแต ระยะแรก การรักษา มีหลักปฏิบัติดังนี้ 1. ในระยะไขสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งเด็กที่มีประวัติเคยชัก หรือในรายที่ปวดศีรษะและปวดเมื่อยตาม ตัว อาจใหยาลดไข ควรใชยาพวกพาราเซตามอล ไมควรใชยาพวกแอสไพริน เพราะจะทําให เกล็ดเลือดเสียการทํางาน และเลือดออกไดงายขึ้น ควรใหยาลดไขเปนครั้งคราว เฉพาะเวลาที่ไข สูงเทานั้น เนื่องจากเปนระยะที่มีเชื้อไวรัสในกระแสเลือด ซึ่งเมื่อหมดฤทธิ์ยาแลว ไขก็อาจขึ้นสูง ไดอีก จนกวาเชื้อไวรัสจะหมดจากกระแสเลือด รางกาย สรางภูมิคุมกันขึ้นมาเอง 2. ใหผูปวยไดน้ําชดเชย เพราะผูปวยสวนใหญมีไขสูง เบื่ออาหาร และอาเจียน ทําใหขาดน้ํา และ ขาดเกลือโซเดียมดวย ควรใหผูปวยดื่มน้ําผลไม หรือสารละลายผงน้ําตาลเกลือแร (โอ อาร เอส) ในรายที่อาเจียน ควรใหดื่มครั้งละนอย ๆ และดื่มบอย ๆ ควรเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีสีเขม ซึ่งทําให
92
Communication skill
3.
4.
5.
6.
สังเกตุอาการอาเจียนเปนเลือดยากขึ้น จะตองติดตามดูอาการผูปวยอยางใกลชิด เพื่อจะไดตรวจพบและปองกันภาวะช็อกไดทันเวลา ภาวะช็อก มักจะเกิดพรอมกับไขลดลง หรือภายใน 24 - 48 ชั่วโมง หลังจากไขลด มักเกิด ประมาณตั้งแตวันที่ 3 ของการปวย ควรแนะนําใหพอแม ทราบอาการนําของช็อก ซึ่งอาจจะมี อาการอันตรายดังตอไปนี้ไดแก อาการซึม เบื่ออาการ ไมรับประทานขาว หรือดื่มน้ํา ติดตอกันหลายวัน อาจมีอาการ ปวดทองใตชายโครงขวา หรือมีอาการปสสาวะนอยลง กระสับกระสาย มือเทาเย็น หรือมีเลือดออกผิดปกติแนะนําใหรีบสงโรงพยาบาลทันที ที่มี อาการเหลานี้ เมื่อผูปวยไปตรวจที่โรงพยาบาล แพทยจะตรวจเลือดดูปริมาณเกล็ดเลือด และ ปริมาณเม็ดเลือด ตอน้ําเลือด หรือเรียกวา ฮีมาโตคริต Hct และอาจนัดมาตรวจดูการเปลี่ยนแปลงของเกล็ดเลือด และฮีมาโตคริตเปนระยะ ๆ เพราะถาปริมาณเกล็ดเลือดเริ่มลดลง และฮีมาโตคริตเริ่มสูงขึ้น เปน เครื่องชี้บงวาน้ําเลือด รั่วออกจากเสนเลือด และอาจจะช็อกได จําเปนตองใหสารน้ําชดเชย โดยทั่วไป ไมจําเปนตองรับผูปวย เขารักษาในโรงพยาบาลทุกราย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ใน ระยะแรกที่ยังมีไข สามารถรักษาแบบผูปวยนอก โดยใหยาไปรับประทาน และแนะนําให ผูปกครอง เฝาสังเกตอาการตามขอ 3 หรือแพทยนัด ใหไปตรวจที่โรงพยาบาล เปนระยะ ๆ โดย ตรวจดูการเปลี่ยนแปลง ตามขอ 4 ถาผูปวยมีอาการ หรือแสดงอาการช็อก อาเจียนหรือถายเปน เลือด ถึงแมอาการไมมาก ก็ตองรับไวรักษาในโรงพยาบาลทุกราย และถือวาเปนเรื่องรีบดวนใน การรักษา ตองใหคําแนะนําอาการอันตราย หรืออาการกอนช็อกแกผูปกครอง เมื่อผูปวยมีอาการอันตราย ขอใดขอหนึ่ง ตองรีบนําสงโรงพยาบาล
93
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
Setting 11. ผูปวยเด็กชายอายุ 1 เดือน มารดานําสงดวยปญหาด็กปากแหวงเพดานโหว คําสั่ง : ใหอธิบายโรคและการรักษาผูปวยเด็กปากแหวงเพดานโหว กับแมเด็ก คําตอบ A.Communication process 1. แนะนําตัวเอง ถามชื่อผูปวยและญาติ และถามความเกี่ยวของของญาติ 2. สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย ชาๆ และชัดเจน 3. เปดโอกาสใหซักถาม 4. สอบถามถึงขอมูลพื้นฐานที่มี 5. สอบถามความเขาใจของผูปวยเปนระยะๆ B.Knowledge content I. ควรสอบถามความรูเดิมของแมเด็ก และสรุปเกี่ยวกับความเขาใจโรคที่ถูกตอง ตัวอยาง: ใหสังเกต และศึกษาบทสนทนา นี้ ลูกของแม เปนโรคปากแหวงเพดาน โหว แมคงกังวลมาก หมอเขาใจ (ทําหนาเขาใจ พยักหนาดวย) แมมีความเขาใจอยางไรบางกับโรคนี้ ขอมูลที่แมไดรับก็ถูกตองสวนหนึ่งครับ แตหมออยากใหรายละเอียดเพิ่มเติมครับ โรคปากแหวง เพดานโหวมีสาเหตุที่ทั้งที่เกิดจากพันธุกรรมและปจจัยอื่น 1. พันธุกรรม ไดแก บิดามารดามีความผิดปกติของโครโมโซมที่กําหนดการสราง ปากและเพดาน ซึ่ง สามารถถายทอดความผิดปกตินี้ไปยังรุนลูกรุนหลานได 2. ปจจัย อื่นที่มารบกวนการสรางปากและเพดานขณะอายุครรภ 2-3 เดือน ไดแก มารดาติดเชื้อบาง ชนิด เชน หัดเยอรมัน, มารดาไดรับยาบางชนิด เชน ยากันชัก สเตียรอยด, มารดาอายุมาก, มารดา ขาดสารอาหารหรือวิตามินบางตัว และมารดาที่สูบบุหรี่หรือดื่มสุราเปนประจํา คุณแมไมตองกังวล โรคนี้ รักษาได หากมีปากแหวงอยางเดียว ก็สามารถผาตัดไดเลยถาน้ําหนักตัวมากมากกวา 10 kg แตลูกของแมมี เพดานโหว ดวย จําเปนตองไดรับการผาตัดที่ซับซอนกวา และตองปรึกษากับผูเชี่ยวชาญหลายแผนก การ ผาตัดเปนวิธีเดียวที่จะทําใหหายได และตองทํากอนเด็กจะฝกพูดเพื่อไมใหเสียงพูดผิดเพี้ยนจากธรรมชาติ ดดย ทั่วไปก็ประมาณ หนึ่งขวบ ซึ่งเด็กจะไมเล็กเกินไปสําหรับการผาตัด ในระหวางนี้ หมอจะสงปรึกษาแพทยดานทันตกรรมมาชวยทําเหงือกเทียมทําใหเด็ก กลืนไดและไม สําลัก เนื่องจากลุกมีปากแหวงรวมดวย แมวาใสเหงือกเทียมแลว เนื่องจากริมฝปากเปนกลามเนื้อตอจาก กระพุงแกม เด็กเล็กยังไมมีฟน ปากที่แหวงทําใหกลืนไมสะดวก แมจะตองใหลูกดูดนมจะจุกนมที่มีฐานกวาง เพื่อใหเด็กงับหัวจุกนมไดถนัด แตเด็กก็ควรดื่มนมแมครับ แมก็ใหบีบนมลงขวด แลวตอจุกที่มีฐานกวางขางตน อยางไรก็ตามหากทันตกรรมประเมินวา เพดานโหวมาก ทําเหงือกเทียมไมได อาจตองใสสายใหอาหารไปกอน จนกวาจะผาตัดได เพื่อปองกันการสําลัก หมออยากใหขอมูลเพิ่มอีกนิดครับวา ถาหากบิดามารดาที่มี ลูกคนแรกที่มีปากแหวง เพดานโหว โอกาสลูกคนตอไปจะเปนสูงกวาคนทั่วไป แตถาไมมีประวัติในครอบครัวมากอน โอกาสลูกคนตอไปจะมีปาก แหวงเพดานโหว เพิ่มเปน 4% การตัดสินใจจะมีลูกคนตอไปหรือไม จึงอยูในดุลพินิจของพอแม
94
Communication skill
Communication II การแจงขาวราย ตัวอยาง : ผูปวยชาย อายุ 58 ปแข็งแรงดีมาตลอด ถูกนําสง โรงพยาบาล ดวยเรื่องหมดสติ เมื่อมาถึง รพ. ผูปวยหยุดหายใจ ทานไดใหการชวยเหลือดวยการ CPR และ ใสทอชวยหายใจ และทําการตรวจดวย CT Brain พบ intracranial hemorrhage and trans-tentorial brain herniation ขณะนี้ ผูปวยไมรูสติ GCS 2T และการตรวจรางกายโดยแพทย และ ศัลยแพทยประสาท บงชี้ clinical brain dead คําสั่ง ใหทานแจงขาวกับญาติซึ่งเปนบุตรสาว และเปนญาติใกลชิดที่สุดที่อยูกับผูปวย แตญาติทานนี้ไมได เปนผูนําสง ไมอยูในเหตุการณตอนเกิด stroke แตเพิ่งไดรับแจงจากเจาหนาที่ รพ ใหมาเยี่ยมอาการ คําตอบ: A.Communication process
1. 2. 3. 4. 5. 6.
แนะนําตัวแกญาติผูปว ย ถามชื่อญาติและความสัมพันธกับผูปว ย ประเมินวาผูปว ยรูมากนอยแคไหนเกี่ยวกับขาวราย แสดงความเห็นใจ ใหกําลังใจ ชวยวางแผนในอนาคต (ดานการรักษา แหลงชวยเหลือ ครอบครัว) พูดไมวกวน และไมใชศัพทแพทย แสดงภาษากายอยางเหมาะสม (สบตา/พยักหนา/ตอบรับ/สะทอนความรูสึก/เงียบ) ได เหมาะสม
B. Knowledge Content 1 บอกอาการผูปวยที่มาโรงพยาบาล และการชวยเหลือที่ทางโรงพยาบาลใหแกผูปวย 2 บอกวาไดทํา x-ray คอมพิวเตอรสมอง 3 บอกผล CT แกญาติ หมายเหตุ ขอ 1-3 Key Point : ทักษะการแจงขาวรายในกรณีแพทยเปนบุคคลอื่นซึ่งไมไดใหการรักษา ตั้งแตแรก แตตองมาบอกขาวกับญาติ ซึ่งโจทยจะใหรายละเอียดมาทั้งหมด การใหขอมูลอยาง ครอบคลุม นิสิตสามารถทําไดงายๆ โดยการอานโจทยและ setting ทั้งหมดที่ไดรับใหกับผูปวยจําลอง ฟงนั่นเอง แตใหใชภาษาที่เขาใจงาย รวมกับทักษะการใหคําปรึกษาประกอบ 4 บอกอาการปจจุบันวาสมองตาย 5 ขณะนี้ผูปวยหายใจไดดวยเครื่องชวยหายใจเทานั้น 6 บอกวาผูปวยตองเสียชีวิตในที่สุด 7 ใหตามญาติทานอื่นมาโรงพยาบาล หรือรวมในการตัดสินใจ 8 เปดโอกาสใหญาติตัดสินใจในการรักษาวาจะใหผูปวยกลับบาน หรือใหการรักษาตออยางเต็มที่ 9 ย้ําวาหมอจะใหการรักษาอยางดีที่สุด 10 ขอบริจาคอวัยวะ (แตม bonus 5 คะแนน) 95
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ขอควรระวัง : นิสิตไมเขาใจโจทยทั้งหมด หรือสับสนใน knowledge content โจทยขอนี้จุดที่มักผิดพลาด กันคือ นิสิตสวนใหญจะแจงขาวรายวาผูปวยเปนเจาชายนิทรานอนนานๆจะมี bedsore ซึ่งไมถูกตอง ลักษณะ ดังกลาวเปน vegetative stage แตโจทยตองการใหบอกขาวรายวา brain dead key point สําคัญในขอนี้คือบอก วาสมองตาย และผูปวยจะเสียชีวิตในที่สุด อยาลืมถามความสัมพันธของญาติทุกครั้งวาเปนอะไรกับผูปวย และอยาลืมยื่นกระดาษทิชชูใหถาญาติ รองไห
96
Communication skill
Communication III การใหคําแนะนําเพื่อการตัดสินใจทําหัตถการ ตัวอยาง : นายศุภฤกษ แตงงาน และมีบุตรแลวจํานวน 2 คน มาขอคําแนะนําจากทานเพื่อรับการทําหมันชาย คําสั่ง : จงใหคําแนะนํากับผูปวย เพื่อการตัดสินใจในการทําหมันชาย Key point : ตองเปดโอกาสใหผูปวยซักถามเสมอ หากหัตถการมีมากกวา 1 วิธี ตองบอกขอดีขอเสียในแตละวิธี เพื่อใหผูปวยเลือก คําถามที่ควรจะมีเสมอในบทสนทนาคือ “มีขอสงสัยอะไรที่จะใหหมออธิบายเพิ่มเติมไหม ครับ” A.Communication process 1.แนะนําตัว ทักทาย 2 ถามความเขาใจเรื่องการทําหมันชาย กับผูปวย 3 ถามวาอายุผูปวย จํานวนบุตร ที่มี 4 เปดโอกาสใหซักถาม 5 ใชภาษาเขาใจงาย ไมใชศัพททางการแพทย 6 เปดโอกาสใหผูปวยตัดสินใจ และขอคําปรึกษา ความเห็นจากคูสมรส B. Knowledge Content 1. ใหขอมูลทั่วไป - การทําหมันชายเปนการผาตัดและผูกทอทางเดินอสุจิ เพื่อไมใหมีเชื้ออสุจิไหลปนออกมากับน้ํากาม ที่หลั่ง -ทําหมันประเภทนี้เปนการทําหมันแบบถาวร หากตองการมีบุตรภายหลังควรเลือกใชวิธีการ คุมกําเนิดแบบชั่วคราว - การทําหมันชายไมมีผลทําใหพละกําลัง และสมรรถภาพทางเพศลดลงแตอยางใด - คูสมรสที่ตองการทําหมันถาวรตองมั่นใจวาไมตองการมีบุตรอีก เนื่องจากการแกไขไมสามารถทําให ฝายหญิงตั้งครรภได 1oo% 2. ใหขอมูลการเตรียมตัวกอนการทําหัตถการ -ถามประวัติโรคประจําตัวที่สําคัญใหแพทยทราบ เพราะอาจมีผลตอการเตรียมตัวผาตัด - หากมีโรคติดเชื้อบริเวณอวัยวะเพศชาย ควรรับการรักษาใหหายกอนการผาตัด เพื่อปองกันการติด โรคแทรกซอน - เตรียมตัวโกนขนรอบบริเวณอวัยวะสืบพันธุภายนอก เพื่อความสะดวกและสะอาดระหวาง - เตรียมตัวโกนขนรอบบริเวณอวัยวะสืบพันธุภายนอก เพื่อความสะดวกและสะอาดระหวางการผาตัด -ใชเพียงยาชาเทานั้นขณะทําการผาตัด และสามารถกลับไปรักษาตัวที่บานไดเลยหลังการผาตัดเสร็จ - โดยจะผาบริเวณถุงอัณทะ ทั้งสอง ขาง ขนาดแผลประมาณ 1-1.5 cm เพื่อเปดหาทอําอสุจิ แลวจะ ทําการผูกทอดังกลาวทั้งสองขาง 3. ใหขอมูลการปฏิบัติตัวหลังการผาตัด -ใชน้ําแข็งประคบบริเวณแผลผาตัดที่ถุงอัณฑะในวันแรกหลังการผาตัด -หลีกเลี่ยงการออกกําลังกายอยางหนักหรือยกของหนัก -งดการมีเพศสัมพันธเปนเวลา 1 สัปดาห -ใชการคุมกําเนิดชั่วคราวประเภทอื่นแทนหากตองการมีเพศสัมพันธกระทั่งตรวจพบวาเปนหมันโดย ถาวร
97
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
-ขอแทรกซอน อาจมีอาจปวดบาง เลือดออกหรือช้ําบริเวณผาตัด ซึ่งจะหายไปไดเองหรือเกิดขึ้นนอย หากใชน้ําแข็งประคบบริเวณแผลผาตัดที่ถุงอัณฑะในวันแรกหลังการผาตัด แตจะไมมีผลตอ สมรรถภาพทางเพศ แตหมอ จะทําให ดีที่สุด
98
Communication skill
การสื่อสารดวยเอกสารทางการแพทย รายงานทางการแพทยสําหรับผูปวยคดี อาจารย พญ.วรัทพร สิทธิจรูญ ภาควิชานิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บทนํา ผูปวยคดี ไดแก ผูเสียหาย และผูกลาวหาวากระทําความผิด รวมถึงผูปวยที่พยายามฆาตัวตาย ถูกทํา รายรางกาย ไดรับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุตาง ๆ ไดรับสารพิษ ถูกลวงละเมิดทางเพศ พนักงานสอบสวน สงมา ขอใหตรวจ อยูในความคุมครองของ พ.ร.บ. ผูประสบภัยจากรถ เปนโรคจากการทํางาน ประสงคจะทํา นิติ กรรมหรือพินัยกรรม ประสงคตรวจยืนยันหรือปฏิเสธความเปนพอแมลูก ผูที่ถูกทอดทิ้งไมไดรับการดูแล ผูปว ย ที่มีขอตอสูวิกลจริต ผูบาดเจ็บทุกรายถือเปนผูปวยคดี เพราะการบาดเจ็บยอมเกิดจากการทําตนเอง ถูกผูอื่นกระทํา หรือ จากอุบัติเหตุ การออกรายงานทางการแพทย มีหลายประเภท และแตละประเภทมีวัตถุประสงคในการนําไปใชแตกตางกัน ไดแก ใบชันสูตร บาดแผล หรือศพของตํารวจ ใบรับรองแพทยเพื่อรับรองการตรวจรักษาประกอบการลางาน ลาเรียน เบิก ประกันชีวิต เบิกประกัน อุบัติเหตุนักเรียน เบิก พ.ร.บ. เบิกประกันสังคม หรือเบิกกองทุนเงินทดแทน ใบรับรอง แพทยลางาน สามารถออกไดหลายใบแตตองออกวันที่ตรวจจริง ออกยอนหลังไมได และตองออกตามความ เปนจริง เทานั้น การบันทึกรายงานทางการแพทย โดยทั่วไปมี 4 สวน คือ การระบุบุคคลและขอมูลทั่วไป ขอเท็จจริง ความเห็น และการลงชื่อแพทยผูออกรายงาน สําหรับความเห็น แพทยมีหนาที่ใหความเห็นการบาดเจ็บตาง ๆ ตามหลักวิชาทางการแพทยเทานั้น ไมใชหนาที่ของแพทยในการวินิจฉัยสิ่งตอไปนี้ การบาดเจ็บสาหัส เสียโฉม ถูกขมขืน คนไรความสามารถ หรือ คนเสมือนไรความสามารถ ตองทราบลักษณะการทํางานของผูปวย เพื่อพิจารณาวาการบาดเจ็บนั้นเปน อุปสรรคตอการทํางานมากนอยเพียงใด และตองออกความเห็นใหตรงวัตถุประสงค ของรายงานทางการแพทย แตละประเภท เชน รับรองการตรวจรักษา ระยะเวลาหยุดพักรักษา ระยะเวลารักษาการบาดเจ็บ และอื่น ๆ ใบชันสูตรบาดแผล ใบชันสูตรบาดแผล หรือใบนําสงผูบาดเจ็บหรือศพใหแพทยตรวจชันสูตร เปนรายงานทางการแพทย ที่พนักงานสอบสวนผูรับแจง สงมาใหแพทยผูทําการตรวจผูที่ไดรับบาดเจ็บหรือผูเสียชีวติ เพื่อรายงานสิ่งที่ ตรวจพบและออกความเห็นทางการแพทย จากนั้นพนักงานสอบสวนจะนําผลการตรวจชันสูตรบาดแผลหรือ ศพของแพทยไปประกอบในสํานวนสอบสวนตอไป
99
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
สวนของตํารวจ
1. 2. 3. 4. 5. 6.
7. 8. 9. 10.
100
สวนของแพทย
หลักทั่วไปในการเขียนรายงานการชันสูตรบาดแผล เปนการเขียนใหพนักงานฝายกฎหมายที่มิใชแพทยอาน ดังนั้น ตองใชภาษาไทย ใชศัพทบัญญัติโดยราชบัณฑิตยสภา หากไมสามารถหาศัพทภาษาไทย ใหเขียนทับศัพทภาษาไทย แลววงเล็บเปนภาษาอังกฤษ เขียนใหเขาใจงายไมเยิ่นเยอ แตครอบคลุม แพทยควรระบุบุคคลดวยตัวเองใหชัดเจนเพื่อไมใหมีความผิดพลาด ไดแก ชื่อ อายุ เลขที่ผูปวย วันและ เวลาที่รักษา ไมตองเขียนประวัติ ยกเวนในกรณี ประวัติที่พนักงานสอบสวนระบุมา มีความแตกตางกับประวัติ ที่ระบุ ในเวชระเบียน หรือกรณีรับรักษาตัวตอจาก ร.พ. อื่น ๆ ไมควรใชเครื่องหมายหรือสัญลักษณยอ เชน • 1x2x3 ซม. ควรเขียนวา บาดแผล.....บริเวณ.....ขนาดกวาง 1 เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร ลึก 3 เซนติเมตร หรือ • 5x5 cm. ควรเขียนวา ขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 5 เซนติเมตร แทน Ø (ในทางปฏิบัติแพทยบางทานอาจใชอักษรยอแทน เชน ซม. สามารถใชโดยอนุโลม แตควรเขียนให ชัด) หากมีการแกไขขอผิดพลาดในรายงาน ใหขีดฆาแลวเขียนใหม และลงชื่อกํากับไวที่ริมกระดาษ หนา บรรทัด หรือทายบรรทัด ถามีการแกไขรายงานในภายหลัง ใหบันทึกวันที่แกไขดวย กรณีขอความตกหลน ตองมีการบันทึกเพิ่มเติม ใหลงลายมือชื่อกํากับไว แยกรายละเอียดของการบาดเจ็บกับความเห็นออกจากกัน เพื่อใหรูปแบบรายงานเปนระเบียบ อาน งาย และผูอานเขาใจวาสวนใดคือขอเท็จจริง และสวนใดคือความเห็น ลงชื่อแพทยใหชัดเจน ถาใชลายเซ็น ควรมีชื่อเต็มกํากับไว อาจระบุตําแหนง หรือสาขาเฉพาะทาง และ ตองลงวันที่กํากับไวทุกครั้ง
Communication skill
หลักในการบันทึกรายละเอียดรายงานการชันสูตรบาดแผล สวนที่ 1 ขอเท็จจริงเกี่ยวกับผูปวย 1. เลขที่ ใหใชเลขที่ทั่วไป (HN) ของผูปวยของแตละสถานพยาบาล กรณีที่มีหนวยนิติเวชรับผิดชอบ ควรใช เลขทะเบียนนิติเวช เพื่องายตอการสืบคน 2. ตําบลที่แพทยตรวจ หมายถึง ชื่อโรงพยาบาล/สถานพยาบาล ที่แพทยตรวจผูปวย 3. ชื่อของผูบาดเจ็บหรือศพ 1.1 กรณีที่ยังไมเสียชีวิต ใหขีดฆาคําวา “หรือศพ” ออก 1.2 ใหบันทึกชื่อโดยมีคําระบุเพศ เชน นาย นางสาว นามสกุล และควรบันทึกอายุของผูปวย โดยเฉพาะผูถูกละเมิดทางเพศ 4. สถานีตํารวจที่สง ดูไดจากดานหนาของใบนําสง (หนาตราครุฑ) วาสถานีตํารวจใดรับผิดชอบ 5. รับไววันที่ ใหลงวันที่และเวลาที่ผูปวยมาตรวจครั้งแรกในการบาดเจ็บครั้งนี้ และตองลงเวลาที่เขาพบ แพทยเปนครั้งแรก สวนที่ 2 รายละเอียดที่แพทยไดตรวจ (ขอเท็จจริง) 1. การบันทึกรายละเอียดที่ตรวจควรบันทึกเปนขอ ๆ โดยมีหลักดังนี้ • ระบุบาดแผลตามชนิด ตําแหนง และขนาดของบาดแผลทุกบาดแผล • เรียงบาดแผลตามหมวดหมูหรือชนิดของบาดแผล หรือ ตามลําดับระบบอวัยวะของรางกาย • บาดแผลชนิดเดียวกันเขียนขอเดียวกันได • บาดแผลที่มีลักษณะเฉพาะ ใหแยกออกมาเขียนใหชัดเจน • เรียงการบาดเจ็บจากรุนแรงมากไปนอย • เรียงการบาดเจ็บจากศีรษะลงไปถึงเทา 2. บันทึกการบาดเจ็บภายนอกรางกายกอน เชน การบาดเจ็บที่ผิวหนัง การหักของกระดูก แลวจึงเขียนการ บาดเจ็บของอวัยวะภายในทีหลัง 3. กรณีที่มีบาดแผลและการบาดเจ็บตออวัยวะภายในใตบาดแผล ควรเขียนใหอยูในลําดับเดียวกันโดย ตอเนื่อง เพื่อใหผูอานเขาใจถึงลักษณะกลไกการบาดเจ็บนั้น 4. การบาดเจ็บภายในหากมีการรักษาโดยการผาตัด ควรเขียนการรักษานั้นดวย เพื่อใหทราบวา เสียอวัยวะ สวนใดไป รวมทั้งวันที่ที่ผาตัด 5. การตรวจทางหองปฏิบัติการ • สารในเลือด เชน แอลกอฮอล ยานอนหลับ หมูเลือด หรือสารอื่น ๆ • สารในน้ําปสสาวะ เชน ยาเสพติด • ตัวและน้ําอสุจิ • พยานหลักฐานอื่นที่พนักงานสอบสวนรอง 6. ระยะเวลาที่นอนรักษาตัวใน ร.พ. อาจเขียนเปนชวงเวลาตั้งแตเขารับการรักษาจนออก หรือจํานวนวันจริง 7. การติดตามการรักษา หรือภาวะแทรกซอน สวนที่ 3 ความเห็น 1. ระยะเวลารักษาการบาดเจ็บ/บาดแผล 101
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
2. 3. 4. 5.
• ประเมินระยะเวลาที่ใชในการหายของบาดแผลใชหลักวิชาการ (มีตําราอางอิง) • การเขียนระยะเวลาการหายควรเขียนเปนตัวหนังสือ หากเขียนเปนตัวเลข ควรเขียนวงเล็บ เปนตัวหนังสือกํากับไว เพื่อปองกันการเติมตัวเลขขางหนาหรือขางหลัง เชน - บาดแผลดังกลาวใชระยะเวลารักษาประมาณเจ็ดวันหากไมมีภาวะแทรกซอนหรือ - บาดแผลดังกลาวใชระยะเวลารักษานานประมาณ 10 (สิบ) วัน • ในกรณีมีการบาดเจ็บหลายชนิด ไมจําเปนตองประเมินเวลาเสียหายของการบาดเจ็บทุกชนิด แยกกัน ใหประเมินรวมกันไดโดยเขียนเวลาที่หายจากการบาดเจ็บที่นานที่สุด เชน - บาดแผลช้ําฉีกขาดรวมกับกระดูกตนขาหัก การประเมินเวลาหาย ใชระยะเวลาการหาย ของกระดูกตนขาหักเปนตัวประเมิน เพราะใชเวลาหายนานที่สุด • การบาดเจ็บรักษาแลวแตไมสามารถหายเปนปกติได เชน เกิด hemiplegia หลัง head injury การลงความเห็นเขียนระยะเวลาที่ใชในการรักษาเทานั้น แลวเขียนขยายเพิ่มเติมวา หลังจาก รักษา แลวจะมีความพิการตลอดชีวิตของรางกายสวนใดบาง อาวุธที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บ/บาดแผล ผลการรักษาที่ไมทันทวงที ระยะเวลาที่อาจทําใหเสียชีวิต การรวมประเวณี : ผาน/นาจะผาน/อาจจะผาน/ไมพบหลักฐาน/ไมผา นการรวมประเวณี
สวนที่ 4 การลงชื่อตอนทาย 1. ระบุชื่อ นามสกุลใหชัดเจน อานงาย อาจบอกตําแหนง/หนาที่/ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาตอทายได 2. วันที่เขียนรายงาน และประทับตรา
102
Communication skill
การเขียนบรรยายบาดแผลลักษณะตาง ๆ ลําดับ 1 2 3 4
ลักษณะชนิดบาดแผล/ Abrasion Laceration Contusion Tramline
5 6 7 8
Avulsion Flap wound Crush wound Cut/Incised wound
9 10 11 12 13 14
Stab wound Chop wound Gunshot wound Shotgun wound Burn/Electrocution Other sharp force injuries: bottle/glass inj
ภาษาที่ใช บาดแผลถลอก บาดแผลฉีกขาด บาดแผลฟกช้ํา บาดแผลฟกช้ําลักษณะเปนแนวยาวขนานกัน ขอบแผลมีสีแดงเขม กลางแผลซีด ขอบแผลกวางดานละประมาณ ….กลางแผลกวาง…… บาดแผลฉีกขาดหนังหลุด บาดแผลฉีกขาดหนังเปด บาดแผลผิวหนังถูกบดทับ บาดแผลถูกของมีคมฟน/เฉือน/บาด หรือบาดแผลฉีกขาดขอบเรียบ (เกา) บาดแผลถูกของมีคมแทง บาดแผลถูกของมีคมสับ บาดแผลทางเขา/ทางออก กระสุนปนลูกโดด บาดแผลทางเขา/ทางออก กระสุนปนลูกซอง บาดแผลผิวหนังถูกความรอนไหม/กระแสไฟฟาช็อต บาดแผลฉีกขาดขอบคอนขางเรียบ
103
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
ตัวอยางรายงานชันสูตรบาดแผลผูเสียหาย ตรวจพบ -
-
บาดแผลถลอกหลายแหงดังนี้ บริเวณใบหนา ตนแขนขวา อก ทอง และขาทั้งสองขาง บาดแผล ขนาดกวางตั้งแต 1 - 10 เซนติเมตร ยาวตั้งแต 2 – 25 เซนติเมตร บาดแผลฉีกขาดหนังเปดบริเวณตนขาขวา ขนาดกวาง 20 เซนติเมตร ยาว 40 เซนติเมตร กลามเนื้อและหลอดเลือดถูกทําลาย กระดูกตนขาขวาหักหลายทอนจากภาพถายรังสี รักษาโดย การผาตัดใสเหล็กดามกระดูก วันที่ 10 กุมภาพันธ 2551 (ใช ก.พ. ได) บาดเจ็บชองทองและมีเลือดออกภายในชองทอง รักษาโดยการผาตัดเปดสํารวจชองทอง พบมาม แตกและตัดมามออก วันที่ 8 กุมภาพันธ 2551 ผูปวยนอนรักษาตัวใน ร.พ. ตั้งแตวันที่ 8 – 15 กุมภาพันธ 2551
ความเห็น - การบาดเจ็บดังกลาวใชระยะเวลารักษาประมาณสามเดือน หากไมมีภาวะแทรกซอน ผูถูกกลาวหาวากระทําผิด
ประเด็น 1. บาดแผลที่ตรวจพบนั้น สัมพันธกับการกระทําผิดหรือไม 2. ระยะเวลาของบาดแผลเขากันไดกับระยะเวลาของการเกิดเหตุการณนั้นหรือไม อาจไมตองประเมิน วาบาดแผลนั้น ใชเวลานานเทาใดจึงจะหาย ดังเชนความเห็นที่ควรระบุในผูเสียหาย 3. ลักษณะของวัตถุที่ทําใหเกิดบาดแผลวาเกิดจากวัตถุชนิดใด มีคมหรือไมมีคม มีลักษณะอยางไร และขนาดประมาณเทาใด 4. ระยะเวลาของการเกิดบาดแผลวาเกิดมากอน ตรวจนานเทาใดโดยอาศัย vital reactions 5. ลงความเห็นอื่นที่พนักงานสอบสวนใหระบุ ตัวอยางรายงานการชันสูตรบาดแผลของผูตองหา ตรวจพบ ความเห็น -
บาดแผลถลอกขีดขวนบริเวณขอมือขวา จํานวน 2 แผล ยาวแผลละ 2 และ 3 เซนติเมตร บาดแผลถูกของมีคมบาดบริเวณนิ้วกลางมือขวา ยาว 1.5 เซนติเมตร เย็บไวดวยไนลอน บาดแผลในขอ 1 เกิดจากของแข็งปลายแหลม ระยะเวลาประมาณ 12 ชั่วโมงถึง 3 วัน กอนตรวจ บาดแผลในขอ 2 เกิดจากของแข็งมีคม ระยะเวลาประมาณ 12 ชั่วโมงถึง 3 วันกอนตรวจ การตรวจผูถูกลวงละเมิดทางเพศ
ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 ภาค 2 ความผิดลักษณะ 9 วาดวยความผิดเกี่ยวกับเพศ กฎหมายที่ยกมาเกี่ยวกับการขมขืนกระทําชําเรา คือ พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2550 สิ่งที่แกไขคือ มาตรา 276 เปลี่ยนจาก ผูใดขมขืนกระทําชําเราหญิงซึ่งมิใชภริยาตนเปน ขมขืนกระทําชําเราผูอื่น และใหความหมายของการกระทําชําเราอยางชัดเจน ในวรรคสอง รวมถึงการขกระทํา ผิดระหวางคูสมรส ในวรรคสี่และหา และ มาตรา 277 ในเรื่องของเพศและอายุ
104
Communication skill
ประกอบดวย 1. การซักประวัติ ประวัติที่ซักไดแก 1.1 ขอมูลทั่วไป ชื่อ-สกุล อายุ เพศ ที่อยู อาชีพ การศึกษา โรคประจําตัว สถานภาพการสมรส สถานภาพ ของผูปกครอง สถานที่พักอาศัย ประวัติประจําเดือน การตั้งครรภ การแทงบุตร การ คุมกําเนิด ประวัติ การมีเพศสัมพันธโดยสมัครใจครั้งสุดทาย และประสงคจะดําเนินคดีหรือไม มีการ แจงความหรือไม 1.2 ขอมูลเกี่ยวกับการกระทําชําเรา แพทยตองถามคําถามตอไปนี้เสมอ ไดแก ผูก ระทําผิดมีกี่คน ผูกระทํามีความสัมพันธกับผูเสียหายอยางไร วัน เวลาที่เกิดเหตุ สถานที่เกิดเหตุ มีการทํารายรางกาย หรือไม มีการบาดเจ็บ หรือบาดแผลอื่นหรือไม มีการใชอาวุธ หรือวัตถุอื่นรวมดวยในการกระทําผิด มี การไดรับยาหรือสารอื่นหรือไม โดยวิธีใด - ประวัติการชําเรา ไดแก มีการลวงล้ําของอวัยวะเพศชาย หรือวัตถุอื่นใด เขาไปในชองคลอด หรือ ทวารอื่น เชน ปากหรือ ทวารหนักของผูเสียหายหรือไม ผูถูกกลาวหาสําเร็จความใคร ภายใน หรือ ภายนอกชองคลอดหรือไม อยางไร ผูตองสงสัยสวมถุงยางอนามัยหรือไม 1.3 ประวัติการทําความสะอาด หลังจากเกิดเหตุหรือไม ไดแก การสวนลางทําความสะอาดชองคลอด การอาบน้ํา การถายอุจจาระ และการเปลี่ยนเสื้อผาชุดชั้นใน 2. การตรวจรางกาย 2.1 การตรวจรางกายภายนอก - ตรวจสภาพเสื้อผา ขนาดในการถายรูปทุกครั้ง และตรวจหาวัตถุพยานที่อาจติดตามเสื้อผา ไดแก คราบของเหลว ขนเพชร หรือวัตถุแปลกปลอมอื่น เพื่อสงตรวจทางหองปฏิบัติการตอไป - ตรวจรางกายทั่วไป ความรูสึกตัว สัญญาณชีพ รูปรางลักษณะภายนอก นํ้าหนัก สวนสูง การ เจริญเติบโตของรางกายวาสมอายุหรือไม ความพิการ สภาพจิตของผูเสียหาย หรืออยูภายใต ฤทธิ์ยา แอลกอฮอล หรือสารอื่น - ตรวจบาดแผลภายนอก โดยเฉพาะปากและริมฝปาก รอยดูด (suction lesion) รอยกัด (bite mark) รอยขวน บาดแผลอื่น ๆ ไดแก บาดแผลฟกช้ํา ถลอก ฉีกขาด ถูกของมีคมฟนหรือแทง และกระสุนปน ควรถายรูปพรอมระบุเทียบขนาดไวดวย 2.2 การตรวจบริเวณอวัยวะเพศภายนอกและบริเวณใกลเคียง - บริเวณตนขาและทวารหนัก หัวเหนาและขาหนีบ แคมใหญ แคมเล็ก และเยื่อพรหมจารี - การตรวจเยื่อพรหมจารี เพื่อดูวา มีการฉีกขาดหรือไม เปนรอยฉีกขาดเกาหรือใหม ซึ่งรอย ฉีก ขาดใหม สามารถพบไดภายใน 24 ชั่วโมง หากพบรอยฉีกขาด ตองบันทึกตําแหนงที่พบ รอยฉีก ขาด ซึ่งจะระบุตามลักษณะนาฬิกา - รอยฉีกขาดเกาของเยื่อพรหมจารีที่เปนรองลึกลงไป (cleft) ตามตําแหนงตาง ๆ ที่บริเวณ 9-3 นาฬิกา อาจเปน variation แตกําเนิด และไมไดเกิดจากการฉีกขาดจริง แตหากตรวจพบ cleft ที่ ตําแหนง 4-8 นาฬิกา ใหสันนิษฐานวาเปนรอยฉีกขาดเกา และนาจะเกิดจากการมีเพศสัมพันธ
105
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
2.3 การตรวจบริเวณอวัยวะเพศภายใน แบงตามอายุของผูเสียหาย - หญิงวัยกอนเจริญพันธุ (prepubertal girls) นิยมตรวจ 3 ทา ไดแก the frog-leg, frog-leg while sitting on caretaker's lap, prone knee-chest position - หญิงวัยเจริญพันธุ (pubertal girls) ตรวจทา lithotomy - ตองตรวจตามลําดับไมขามขั้นตอน เพราะอาจทําใหการแปลผลผิดพลาดได อธิบายในการใช เครื่องมือกอนตรวจ มีการบันทึกโดยกลองถายรูป หรือแผนภาพในการแสดงสิ่งผิดปกติ - ใช NSS แทนสารหลอลื่น speculum เนื่องจากอาจทําลายวัตถุพยานที่ตรวจพบได - การตรวจดูผนังชองคลอด ควรจะดูไปเปนระยะ ๆ ตั้งแตเริ่มใส speculum เขาไป ไมตรวจตอน ถอยออก เพื่อใหแนใจวาบาดแผลที่พบนั้นไมไดเกิดจากตัว speculum เอง
106
ความสัมพันธของการตรวจรางกายกับการรวมประเวณี สิ่งปกติและไมมีความจําเพาะจากการมีเพศสัมพันธ มีดังนี้ hyminal tag, labial adhesions, cleft or notches in anterior half of the hymen (9-3 o’clock), vaginal discharge, erythema of genital or anus, perianal skin tag, anal fissures, anal dilatation with stool in ampulla รอยฉีกขาดของเยื่อพรหมจารีไมไดบอกถึงการมีเพศสัมพันธเพียงแตบอกวาเกิดจากการผาน ของวัตถุแข็ง ไมมีคมเขาไปในชองคลอดเทานั้น ซึ่งอาจจะเปนอวัยวะเพศชาย หรือวัตถุใดก็ได หากพบเยื่อพรหมจารี มีรอยฉีกขาดเกาหลายตําแหนง สันนิษฐานวานาจะมีเพศสัมพันธมากอน กรณีมี รอยฉีกขาดเกาเพียง 1 แหงนั้น อาจพบไดในหญิงที่ใชผาอนามัยแบบสอด แมไมเคยมีเพศสัมพันธ หากตรวจไมพบการรอยฉีกขาดของเยื่อพรหมจารีไมสามารถบอกไดวาไมมีการรวมประเวณีมา กอน หญิง บางคนที่ผานการรวมประเวณีมาแลว อาจไมพบการฉีกขาดของเยื่อพรหมจารีเลยก็ได การพบเยื่อ พรหมจารีฉีกขาดจะพบเฉพาะในเด็กหรือหญิงที่มีเพศสัมพันธครั้งแรก ๆ เทานั้น รองรอยการตั้งครรภหรือการคลอด เชน ลักษณะปากมดลูก เตานม และหัวนมที่เปลี่ยนไป หรือการเกิด โรค ติดตอทางเพศสัมพันธ ชวยสันนิษฐานไดวาผูเสียหายเคยมีเพศสัมพันธมากอน เพศสัมพันธที่เกิดขึ้น เกิดชวงเวลาใด ตรงกับชวงเวลาที่สงสัยหรือไม เกิดจากการขมขืนใจ หรือสมัครใจ ยินยอม มีการใชกําลังหรือไม หากตรวจพบอาการบาดเจ็บตามรางกาย หรือบริเวณ อวัยวะเพศอยาง ชัดเจน สันนิษฐานไดวามีการใชกําลังรวมดวย เชน ตรวจพบบาดแผลฟกช้ํา ชองคลอด หรือทวารหนัก ฉีก ขาด บาดแผลดังกลาวไมนาจะเกิดจากการรวมเพศที่สมัครใจยินยอม บ หากตรวจพบรองรอยบาดเจ็บ เพียงเล็กนอย เชน บาดแผลถลอก ก็ไมสามารถบอกไดวา มีการใชกําลัง บังคับ เพราะอาจเปนผลจากอุบัติเหตุ หรือตั้งใจขณะมีเพศสัมพันธปกติได
Communication skill
2.4 การตรวจทางหองปฏิบัติการ เพื่อตรวจหาตัวอสุจิ น้ําอสุจิ และการตรวจอื่น ๆ - การเก็บตัวอยางเพื่อตรวจหาคราบอสุจิ ทําได 1. ทุกสวนของรางกาย 2. Perineum ใช swab ปายสิ่งสงตรวจบริเวณ Introitus คือ บริเวณระหวางแคมใหญกับแคม เล็ก จากบนสูดานลางสุด และรอบ ๆ 3. Posterior fornix บริเวณปากมดลูก และหลังคอมดลูก - การตรวจหาตัวอสุจิ (Spermatozoa) 1. วิธีการตรวจหาตัวอสุจิ มี 2 วิธี ดังนี้ คือ ตรวจสด (wet smear) และการยอมสี 2. วิธีที่ดีที่สุดในขณะนี้ คือ Oppitz Method เนื่องจากสามารถเห็นตัวอสุจิไดงาย โดยสีของตัว อสุจิ จะตัดกับ blackgroud ชัดเจน คือ สวน proximal ของ oval head จะติดสีสมแดง สวน distal half จะใส ในขณะที่ background ซึ่งเปน epithelial cell จะติดสีเขียวออน โดยมี nucleus ติดสีมวง รองมาคือวิธี H&E จะเห็นตัวอสุจิไดงายกวาวิธี Wright’s stain, Gram’s stain หรือ methylene blue - การตรวจหาน้ําอสุจิ (semen) สารที่นิยมตรวจกันมากในทางปฏิบัติ ไดแก 1. Acid phosphatase เปนวิธีที่นิยมใชมากที่สุด เพราะงายและสะดวก ปกติใชตรวจคัดกรอง แตในบางครั้งอาจใชตรวจยืนยันได • AP อาจใหผล false positive ไดแก สารคัดหลั่งจากรางกาย เชน น้ําเมือกในชอง คลอด หญิง น้ํานม ปสสาวะ เนื้อเยื่ออวัยวะตาง ๆ เชน ตับ ไต เซลลเม็ดเลือดแดง สารพิษ บาง ชนิด เชน พิษงู พืชบางชนิด เชน กะหลํ่าปลี กานพลู อัลมอนด ซึ่งมีสารจําพวก phenol แบคทีเรีย )Staphylococcus aureus) และเชื้อรา สารบางชนิด เชน น้ํายา ความสะอาด ชองคลอด
• ระยะเวลาในการตรวจพบ AP จากน้ําอสุจิ ขึ้นกับสภาพเหตุการณและการเก็บรักษาวัตถุ พยาน โดยทั่วไปพบวาใหผลบวกไดภายใน 72 ชั่วโมง 2. Prostatic specific antigen (PSA) หรือ P30 • เปน glycoprotein ซึ่งสรางจาก prostate gland พบไดเฉพาะในนํ้าอสุจิเทานั้น ใชตรวจเพื่อ ยืนยันวาเปนคราบอสุจิ พบทั้งในคนปกติ คนที่มีภาวะ aspermia hyperestrinism รวมทั้ง คนที่ทําหมันแลว • ตรวจในชองคลอดไดนานประมาณ 24 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ
107
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
Maximum Times Reported for Recovery of Intact Spermatozoa from Body Cavities in living Females Sperm Recovery times (hr) Viability Vagina Cervix Mouth Rectum/Anus Motile Non-motile
6
120 (5-6 d)
8
144
14
408 (17 d)
16
3
9
6
20
5d
5/2 d
48 144 ศพ
3-4 mo
ความสัมพันธระหวางผลการตรวจทางหองปฏิบัติการกับการรวมประเวณี หลักฐานที่ดีที่สุดที่ยืนยันวามีการรวมประเวณี คือการตรวจพบตัวอสุจิหรือนํ้าอสุจิ จากสิ่งสงตรวจ ที่เก็บ จากชองคลอด แมวานํ้าอสุจิอาจจะถูกใสเขาไปในชองคลอดโดยวิธีอื่น แตโอกาสเกิดขึ้นนอยมาก ดังนั้น แพทยสามารถใหความเห็นวา ตรวจพบหลักฐานยืนยันวาผูเสียหาย ผานการรวมประเวณีมาจริง สิ่งที่สนับสนุนวาผูตองสงสัยผานการมีเพศสัมพันธมากอนมากที่สุด คือ การตรวจพบ glycogenated cell จาก penile swab การตรวจไมพบตัวอสุจิ หรือสารในนํ้าอสุจิ ไมสามารถไดยืนยันวา ไมมีการรวมประเวณีเกิดขึ้น เนื่องจาก สาเหตุหลายกรณี เชน ไมมีการสําเร็จความใคร สําเร็จความใครภายนอก สวมถุงยางอนามัย ผูเสียหายทํา ความสะอาดสวนลางชองคลอด เหตุการณเกิดขึ้นนานมากแลว ทําใหตัวอสุจิไหลออกจากชองคลอดตาม แรงโนมถวงโลก
108
Communication skill
การเขียนใบชันสูตรบาดแผล กรณี ผูถูกละเมิดทางเพศ ใชหลักการทั่วไป 10 ขอ เชนเดียวกับการเขียนใบชันสูตรบาดแผล ประกอบดวย 4 สวน คือ การระบุบุคคลและขอมูลทั่วไป ขอเท็จจริง ความเห็น และการลงชื่อแพทยผูออกรายงาน รายละเอียดดังกลาว ขางตน แตขอเนนแตละสวนเพิ่มเติม ดังนี้ สวนที่ 1 ขอเท็จจริงเกี่ยวกับผูปวย - เนนอายุของผูปวย น้ําหนัก สวนสูง รวมถึงสภาพจิตใจของผูปวย สวนที่ 2 รายละเอียดที่แพทยไดตรวจ (ขอเท็จจริง) เขียนครอบคลุม - การตรวจรางกายภายนอก - การตรวจบริเวณอวัยวะเพศ - การตรวจหาตัวอสุจิ - การตรวจหาน้ําอสุจิ - การตรวจทางหองปฏิบัติการอื่น ๆ สวนที่ 3 ความเห็น - การรวมประเวณี : ผาน นาจะผาน อาจจะผาน ไมพบหลักฐาน หรือไมผานการรวมประเวณี - ระยะเวลาการรักษาบาดแผล (ถามี) - ตารางสรุปการใหความเห็นของแพทยเกี่ยวกับการรวมประเวณี 2 แบบ ตามลักษณะ
• • • •
1
การตรวจบาดแผลภายนอก การตรวจรองรอยบริเวณอวัยวะเพศ การตรวจพบตัวอสุจิ
การพบน้ําอสุจิ แบบที่ 1 รอยละหรือเปอรเซ็นต (CMU) บาดแผล อวัยวะเพศ ตัวอสุจิ ภายนอก ± + +
น้ําอสุจิ
ความเห็น
+
100%
2
±
+
+
-
100%
3
±
+
-
+
99.99%
4
±
-
+
-
100%
5
±
-
-
+
80-90%
6
±
+
-
-
50-80%
7
+
-
-
-
ไมพบหลักฐาน
8
-
-
-
-
ไมผานการรวม
109
คูมือการซักประวัติ ตรวจรางกาย และการสื่อสารทางการแพทย เพื่อการสอบวิชาชีพเวชกรรม
แบบที่ 2 (CU) บาดแผล ภายนอก
อวัยวะเพศ
ตัวอสุจิ
น้ําอสุจิ
ความเห็น
1
+
+
+
+
ผานการรวม
2
+
+
+
-
ผานการรวม
3
-
+
+
-
ผานการรวม
4
+
+
-
+
นาจะผาน
5
-
+
-
++
นาจะผาน
6
-
-
-
+
อาจจะผาน
7
-
+
-
-
อาจจะผาน
8
-
-
-
-
ไมผานการรวม/ ไมพบหลักฐาน
สวนที่ 4 การลงชื่อตอนทาย 1. ระบุชื่อ นามสกุลใหชัดเจน อานงาย อาจบอกตําแหนง/หนาที่/ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาตอทายได 2. วันที่เขียนรายงาน และประทับตรา
110
Communication skill
ตัวอยางรายงานชันสูตรบาดแผลผูถูกละเมิดทางเพศ (กรณีสมมุติ) เลขที่ R015/53 ตําบลที่แพทยตรวจ ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อผูบาดเจ็บ เด็กหญิงลีลาวดี ลั่นทม อายุ 13 ป สภาพจิตคอนขางเครียด หลบตาขณะซักถาม สถานีตํารวจที่นําสง ภูธรองครักษ รับไววันที่ 13 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2553 เวลา 10.00 น. รายการที่แพทยตรวจและใหความเห็น เด็กหญิง อายุ 13 ป สวนสูง 155 เซนติเมตร หนัก 60 กิโลกรัม สภาพจิตใจเครียด หลบตาขณะซักถาม การตรวจรางกายภายนอก - ตรวจพบบาดแผลฟกช้ําบริเวณหนาผาก ขนาด 5 เซนติเมตร การตรวจบริเวณอวัยวะเพศ - ปากชองคลอดพบแคมในขางซายถลอก - เยื่อพรหมจารีฉีกขาดเกาบริเวณ 4 6 และ 8 นาฬิกา และในชองคลอดมีตกขาวขุนปริมาณมาก - มดลูกโตประมาณ 8 สัปดาห การตรวจทางหองปฏิบัติการ - ตรวจไมพบตัวอสุจิ จากของเหลวบริเวณปากชองคลอดและในชองคลอด - ตรวจไมพบสารประกอบของน้ําอสุจิ จากของเหลวบริเวณปากชองคลอดและในชองคลอด - ตรวจปสสาวะพบการตั้งครรภ และตรวจคลื่นความถี่สูงพบการตั้งครรภ 8 สัปดาห ความเห็น - ผานการรวมประเวณี มีการตั้งครรภ อายุครรภ 8 สัปดาห - การบาดเจ็บดังกลาวใชระยะเวลารักษาประมาณสิบวันหากไมมีภาวะแทรกซอน วรัทพร สิทธิจรูญ (แพทยหญิงวรัทพร สิทธิจรูญ) แพทยนิติเวช 15 ก.ค. 2553
111